Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16846
Title: ASEAN-South Korean relations in the phase of East Asian regionalism
Other Titles: ความสัมพันธ์อาเซียน-เกาหลีใต้ในช่วงภูมิภาคนิยมของเอเชียตะวันออก
Authors: Cho Hee-Hyoung
Advisors: Withaya Sucharithanarugse
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Withaya.S@Chula.ac.th
Subjects: Regionalism -- East Asia
Regionalism -- Pacific Area
Korea ‪(South)‬ -- Foreign relations -- ASEAN countries
ASEAN countries -- Foreign relations -- Korea ‪(South)‬
Issue Date: 2009
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: To analyze the reasons and grounds of what have brought South Korea’s transition and ASEAN-South Korea relations in the context of East Asian regionalism affected by the rise of China, weakening market of the U.S. and EU, strengthening of EU regionalism and the likelihood of protectionism in the U.S; as ASEAN-South Korea relations particularly after 1997 crisis are enhanced by East Asian regionalism. Also, it the study covers on the increasing contact between ASEAN and South Korea at present, focusing on ASEAN-South Korea’s reinforced interdependency, ASEAN’s proactive diplomacy, South Korea’s upgraded international status, and South Korea’s “New Asia Initiative” diplomacy under the East Asian regionalism and regional multilateralism led by the rise of China. In the regional scope, South Korea and ASEAN are active participants of ASEAN+3 and East Asian Community; regarding the progress of ASEAN+1, there are dramatic achievements such as ASEAN-South Korea FTAs in goods (2007), investment (2009), and service(2009) in effect, ASEAN-South Korea Commemorative Summit (2009), ASEAN-South Korea CEO Summit (2009) the establishment of ASEAN-Korea Centre (2009).
Other Abstract: วิเคราะห์เหตุผลและพื้นฐานของสภาพการเปลี่ยนผ่านที่เกิดขึ้นกับเกาหลี ใต้ และลักษณะความสัมพันธ์ของอาเซียนและเกาหลีใต้ ภายในบริบทภูมิภาคนิยมเอเชียตะวันออก อันเกิดขึ้นมาจากการเรืองอำนาจของจีน การอ่อนตัวลงของตลาดสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ความเข้มแข็งของภูมิภาคนิยมสหภาพยุโรป และความเป็นไปได้ที่จะเกิดสภาพปกป้องผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในขณะเดียวกันความสัมพันธ์อาเซียน-เกาหลีใต้ โดยเฉพาะภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจในปี 1997 ก็ได้รับแรงกระตุ้นจากภูมิภาคนิยมเอเชียตะวันออก การศึกษานี้ยังครอบคลุมการติดต่อกันที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันระหว่างอาเซียนกับเกาหลีใต้ โดยเน้นความพึ่งพาอาศัยที่มีแต่จะเพิ่มขึ้นระหว่างอาเซียนกับเกาหลีใต้ เน้นนโยบายทางการฑูตเชิงรุกของอาเซียน สภานภาพในวงการระหว่างประเทศที่ได้รับการปรับขึ้นของเกาหลีใต้ และนโยบายทางการฑูตของเกาหลีใต้ที่รู้จักในนาม “ความริเริ่มเอเชียใหม่” ภายในกรอบภูมิภาคนิยมเอเชียตะวันออก และความร่วมมือกันระหว่างหลายฝ่ายอันเป็นผลมาจากการเรืองอำนาจขึ้นของจีน ทั้งอาเซียนและเกาหลีใต้ต่างมีบทบาทที่แข็งขันในกระบวนการของอาเซียน+3 และประชาคมเอเชียตะวันออก เฉพาะในแง่ของอาเซียน+1 มีความสำเร็จที่น่าทึ่งในเรื่องการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลีใต้ทางด้านสินค้า (2007) ทางด้านการลงทุน (2009) และทางด้านการบริการ (2009) มีการประชุมสุดยอดอันเป็นปฐมระหว่างอาเซียน-เกาหลีใต้ (2009) การประชุมสุดยอดของผู้นำการบริหาร อาเซียน-เกาหลีใต้ (2009) และการก่อตั้งศูนย์อาเซียน-เกาหลีใต้ (2009)
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2009
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Southeast Asian Studies (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16846
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1694
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1694
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cho Hee_hy.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.