Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1689
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระ เหมืองสิน | - |
dc.contributor.author | เกษม ตริตระการ, 2524- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-11T10:39:33Z | - |
dc.date.available | 2006-08-11T10:39:33Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745314749 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1689 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | ระบบการคำนวณแบบกระจายบนอินเตอร์เน็ตในปัจจุบันมีข้อจำกัดในด้านของความสามารถในการขยายระบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อแอพพลิเคชั่นที่ทำงานบนระบบนั้นมีขนาดของข้อมูลที่ใหญ่เมื่อเทียบกับเวลาที่ใช้ในการคำนวณ เป็นเหตุให้ภาระของเครื่องเซิร์ฟเวอร์มากเกินไปโดยเฉพาะภาระในการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์ กับเครื่องไคลเอนต์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อหาวิธีปรับปรุงการทำงานของระบบการคำนวณแบบกระจายบนเครือข่ายเพียร์-ทู-เพียร์ โดยเน้นที่ความสามารถในการขยายระบบและการรองรับแอพพลิเคชั่นที่มีสัดส่วนของขนาดข้อมูลต่อเวลาที่ใช้ในการคำนวณสูง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพความสามารถในการขยายระบบและขนาดของข้อมูลที่ระบบสามารถรองรับได้ โดยใช้โปรแกรมแบบจำลอง ซึ่งจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารแบบเพียร์-ทู-เพียร์ช่วยลดปริมาณการใช้แบนด์วิดธ์ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ลงเมื่อเทียบกับระบบที่ไม่ได้ใช้การสื่อสารแบบเพียร์-ทู-เพียร์ โดยปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพที่สำคัญคือความเสถียรของเครือข่ายแบบเพียร์-ทู-เพียร์ของระบบ จึงได้ทำการออกแบบโครงสร้างของระบบโดยใช้โมเดลแบบซุปเปอร์เพียร์เพื่อแก้ปัญหาที่พบ จากนั้นได้พัฒนาระบบต้นแบบขึ้นโดยใช้โพรโตคอล JXTA เพื่อทดสอบแนวคิดที่นำเสนอ | en |
dc.description.abstractalternative | At present, distributed computing systems on the Internet still have limitations on scalability. This is especially the case when the application consumes or produces a large amount of data. In the current client/server model, the server can be overloaded by the data to be transferred to and from computing machines. This thesis aims to improve the scalability and capability to handle data intensive applications of a distributed computing system on a peer-to-peer network. In this thesis, the evaluation of many factors that directly affect the performance of a distributed computing system is performed by simulation. The results of the study have shown that applying peer-to-peer communication can reduce the usage of server's bandwidth. The important factor that affects the performance of the system is the availability of peer-to-peer communication between job submitters and computing machines. Therefore, a super-peer model is employed to further enhance the performance of the system. A prototype of the proposed system is implemented by using the JXTA protocol. | en |
dc.format.extent | 1827056 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบกระจาย | en |
dc.subject | สถาปัตยกรรมแบบเพียร์-ทูเพียร์ (เครือข่ายคอมพิวเตอร์) | en |
dc.subject | เครือข่ายคอมพิวเตอร์ | en |
dc.title | ระบบการคำนวณแบบกระจายบนเครือข่ายเพียร์-ทู-เพียร์สำหรับกลุ่มงานการคำนวณโดยใช้โมเดลแบบซุปเปอร์เพียร์ | en |
dc.title.alternative | Peer-to-peer distributed computing for cooperative computational tasks groups based on super-peer model | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | veera.m@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KasameTr.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.