Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16916
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา-
dc.contributor.authorยุวรี ผลพันธิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-17T03:34:42Z-
dc.date.available2012-02-17T03:34:42Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16916-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพการส่งเสริมความรับผิดชอบของนักเรียน อาชีวศึกษาของสถานศึกษา และนำเสนอแนวทางที่ดีในการส่งเสริมความรับผิดชอบของนักเรียน อาชีวศึกษา กรณีศึกษาคือโรงเรียนอาชีวศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดีด้านการส่งเสริมความรับผิดชอบ ของนักเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การวิเคราะห์เอกสาร การสนทนา กลุ่ม และการสำรวจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อ หาและค่าสถิติร้อยละ ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ 1. สถานศึกษาได้มีการส่งเสริมความรับผิดชอบของนักเรียนด้วยการบริหาร การจัดการ ศึกษา และการจัดสภาพแวดล้อม โดยสถานศึกษาได้มุ่งเน้นการฝึกฝนให้นักเรียนมีระเบียบวินัย เป็นพื้น ฐานเพื่อนำไปสู่ความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม โดยผ่านกระบวนการจัดการเรียน การสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตร และการสร้างแรงจูงใจของครูและบุคลากรให้เป็นต้นแบบที่ดีของ นักเรียน การจัดการศึกษาให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริม ความรับผิดชอบของนักเรียน มีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลายและต่อเนื่อง การจัด สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาเน้นการสร้างบรรยากาศให้มีความสะอาด ร่มรื่น และความ ปลอดภัย 2. แนวทางที่ดีในการส่งเสริมความรับผิดชอบของนักเรียนพบว่าสถานศึกษามีการ บริหารและการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารและครูอาจารย์เป็นต้นแบบที่ดีของผู้ที่มีวินัยและ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน บุคลากรในสถานศึกษาให้ความร่วมมือกับกิจกรรมต่างๆ มี การส่งเสริมให้บุคลากรภายในสถานศึกษาได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง มีการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพ การจัดกิจกรรมและโครงการเสริมหลักสูตรที่สอดคล้องกับการพัฒนาคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมen
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were to study states and guidelines for enhancing vocational students’ responsibilities from a case study of a good practice vocational school. The data were collected by observation, interview, documentary analysis, focus group discussion and questionnaire. Then, they were analyzed by content analysis and percentage. The research findings were as follow: 1. The school supported vocational students’ responsibility via administrating, formal and informal learning and environmental management. The school emphasized in basic discipline development that yielded self and social responsibilities through teaching and learning process, extra curricula, and motivating teachers to be good models in discipline and responsibilities. Responsibility concepts and conducts were integrated in school curriculum and were supported by variety of learning activities and extra curricula continuously. The mutual school environment management was emphasized in promoting among students for creating a clean, pleasant and secure environment. 2. Guidelines, for students’ responsibility development were composed of effective administration and management, good modeling, cooperation, supporting self development, instructing and extra activities relating characteristic development for self and social responsibilities of studentsen
dc.format.extent1980470 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.880-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนอาชีวศึกษาen
dc.subjectความรับผิดชอบในวัยรุ่นen
dc.titleการวิเคราะห์สภาพและแนวทางในการส่งเสริมความรับผิดชอบของนักเรียน : กรณีศึกษาโรงเรียนอาชีวศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดีen
dc.title.alternativeAn analysis of the state and guildelines for enhancing students' responsibilities : a case study of a good practice vocational schoolen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiripaarn.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.880-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yuwaree_Po.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.