Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16918
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริมา ปัญญาเมธีกุล-
dc.contributor.advisorมณีรัตน์ องค์วรรณดี-
dc.contributor.authorรัฐเขต มูลรินต๊ะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2012-02-17T05:24:56Z-
dc.date.available2012-02-17T05:24:56Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16918-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาแหล่งกำเนิดและความเข้มข้นของสารอินทรีย์ระเหย (สารวีโอซี) และอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศภายในอาคารสำนักงานในกรุงเทพมหานครจำนวน 17 ตึก ในช่วงเดือน กันยายน-ตุลาคม 2552 ทำการเก็บตัวอย่างสารวีโอซีด้วยหลอดเก็บตัวอย่างชนิดเรซินเทเน็กซ์ (Tenax-TA[superscript TM] sorbent tube) ต่อกับปั๊มเก็บตัวอย่างชนิดพกพาด้วยอัตราการดูดอากาศ 0.04 ลิตร/นาที ในช่วงเวลา 10:00-12:00 น. และ 13:00-15:00 น. เป็นเวลา 4 ชั่วโมง ทำการเก็บตัวอย่าง 3 จุด ได้แก่ ภายในอาคาร 2 จุด ภายนอกอาคาร 1 จุด ทำการวิเคราะห์ตัวอย่างด้วยเครื่อง Thermal desorption/gas chromatrography-mass spectrometer (TD/GC-MS) ทำการศึกษาสารวีโอซีจำนวน 13 ชนิด พบว่าสารโทลูอินมีค่าความเข้มข้นเฉลี่ยสูงสุดทั้งภายในและภายนอกอาคารเท่ากับ 110.19 และ 43.61 มค.ก./ลบ.ม. รองลงมาได้แก่ ไลโมนีน เอ็ม/พี-ไซลีน เอทธิลเบนซิน และ โอ-ไซลีน มีค่าความเข้มข้นเฉลี่ยภายในอาคารเท่ากับ 73.53, 12.20, 12.09 และ 9.63 มค.ก./ลบ.ม. ตามลำดับ วัดอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศของอาคาร (air exchange rate) ด้วยวิธี constant injection โดยใช้สารเฮกซะฟลูออโรเบนซิน (hexafluorobenzene) เป็นสารตามรอย (tracer gas) พบว่าอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง 0.017-1.16 ชั่วโมง⁻¹ ทั้งนี้ร้อยละ 94 ของตึกตัวอย่างมีอัตราการแลกเปลี่ยนอากาศต่ำค่ามาตรฐาน 0.67 ชั่วโมง⁻¹ (พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522) นอกจากนี้พบว่าสัดส่วนความเข้มข้นเฉลี่ยของสารวีโอซีภายในอาคารเปรียบเทียบกับภายนอกอาคาร (I/O ratio) มีค่าอยู่ในช่วง 1.68-12.29 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าแหล่งกำเนิดสารวีโอซีภายในอาคารมีความสำคัญมากกว่าการแพร่ของสารวีโอซีจากภายนอกตัวอาคารเข้าสู่ภายในอาคารen
dc.description.abstractalternativeThis study was to investigate sources and concentrations of volatile organic compounds (VOCs) and air exchange rates (AER) in 17 office buildings in Bangkok, Thailand. Sampling was conducted during September-October 2009. Personal sampling pumps were used to draw air at a flow rate 0.04 min⁻¹ through Tenax-TA⁻¹ sorbent tubes. The cartridges incorporated ozone scrubbers to prevent VOCs losses on the sorbent surface. Air sampling was taken during 10:00-12.00 am and 1:00-3:00 pm on a weekday. At each sampling site, three categories of samples were collected, i.e., two indoor samples and one outdoor sample. Samples were then analyzed using thermal desorption (TD) and a gas chromatrography/mass spectrometer (GC/MS). Measurement of the office air exchange rates was performed by a constant injection technique using hexafluorobenzene as a tracer gas. Thirteen target VOCs were investigated including benzene, toluene, m/p-xylene, o-xylene, styrene, ethylbenzene, hexane, chloroform, 1,2-dicholroethane trichloroethylene, 1,2-dichloropropane, tetrachloro ethylene and limonene. Results showed that the levels of indoor and outdoor toluene were the highest valve (110.19 and 43.61 µg./m².), and followed by limonene, m/p-xylene, ethylbenzene, and o-xylene. Teh mean concentrations were 73.53, 12.20, 12.09 and 9.63 microgram/cubic meter, respectively. The air exchange rates ranged from 0.017 to 1.16 hr⁻¹. Ninety-four percent of the measured office had the air exchange rate below 0.67 hr⁻¹. (Building Control Act B.E. 2522 (A.D. 1979)). Furthermore, indoor/outdoor (I/O ratios) of the target compounds ranged from 1.68 to 12.29. This indicated that indoor sources are significant contributors to the level of indoor VOCs in comparison to the outdoor sourceen
dc.format.extent3088755 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2078-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารประกอบอินทรีย์en
dc.subjectอาคารสำนักงาน -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectอาคารสำนักงาน -- วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen
dc.subjectสารระเหยอินทรีย์en
dc.titleแหล่งกำเนิดและความเข้มข้นของสารประกอบอินทรีย์ระเหยในอาคารสำนักงานในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeSources and concentrations of volatile organic compounds (VOCs) in Bangkok's office buildingsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsirima.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2078-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rathakheth_mo.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.