Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมรัฐ โอสถาพันธุ์-
dc.contributor.advisorเจริญขวัญ ไกรยา-
dc.contributor.authorสหรัฐ เชาว์รูปดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-17T11:08:38Z-
dc.date.available2012-02-17T11:08:38Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16938-
dc.descriptionยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractจุดประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ การประยุกต์ใช้การตกตะกอนทางเคมีและวิธีทางไฟฟ้าเคมีในน้ำเสียสังเคราะห์ และน้ำเสียจริงจากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเส้นใย เพื่อกำจัดสังกะสี งานวิจัยนี้ได้แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก ศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของการกำจัดสังกะสีจากน้ำเสียสังเคราะห์โดยการตกตะกอนทางเคมีด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์และโซเดียมซัลไฟด์ และกระบวนการทางไฟฟ้าเคมี ซึ่งวิธีทางไฟฟ้าเคมีได้แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ชุด คือ ชุดที่ 1 เป็นการจัดเรียงขั้วไฟฟ้าแบบเซลล์เดี่ยว จำนวน 1 คู่ โดยมีขนาดพื้นที่ขั้วไฟฟ้า 9x10 ตารางเซนติเมตร ชุดที่ 2 เป็นการจัดเรียงขั้วไฟฟ้าแบบหลายเซลล์ต่อขนาน จำนวน 3 คู่ โดยมีขนาดพื้นที่ขั้วไฟฟ้า 3x10 ตารางเซนติเมตร โดยแต่ละชุดการทดลองจะทำการแปรเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้า 250, 500, 1,000 และ 2,000 มิลลิแอมแปร์ ส่วนที่สอง ใช้ค่าสภาวะที่เหมาะสมจากการทดลองในส่วนแรกมาใช้กับน้ำเสียจริง ผลการทดลองส่วนที่ 1 การทดลองในน้ำเสียสังเคราะห์ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของสังกะสี 2.4 มิลลิโมลต่อลิตร โดยการตกตะกอนด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่พีเอช 10 สามารถกำจัดสังกะสีได้ 99.68% การตกตะกอนด้วยโซเดียมซัลไฟด์ที่พีเอช 9 สามารถกำจัดสังกะสีได้ 99.71% ส่วนวิธีทางไฟฟ้าเคมี พบว่า การจัดเรียงขั้วแบบเซลล์ต่อขนาน ที่กระแสไฟฟ้า 500 มิลลิแอมแปร์ จัดเป็นสภาวะที่เหมาะสม โดยกำจัดสังกะสี ณ ชั่วโมงที่ 6 ได้ 100% ผลการทดลองส่วนที่ 2 การทดลองในน้ำเสียจริงที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของสังกะสี 3.0 มิลลิโมลต่อลิตร โดยการตกตะกอนด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่พีเอช 10 สามารถกำจัดสังกะสีได้ 99.40% การตกตะกอนด้วยโซเดียมซัลไฟด์ ที่พีเอช 9 สามารถกำจัดสังกะสีได้ 99.40% ส่วนวิธีทางไฟฟ้าเคมี พบว่า การจัดเรียงขั้วแบบเซลล์ต่อขนาน ที่กระแสไฟฟ้า 500 มิลลิแอมแปร์ กำจัดสังกะสี ณ ชั่วโมงที่ 6 ได้ 24%en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study is to apply chemical precipitation and electrochemical methods for zinc removal from synthetic wastewater and rayon fiber production factory wastewater. This work was divided into two sections. The first section included zinc removal from synthetic wastewater by using chemical precipitation; sodium hydroxide and sodium sulfide, and electrochemical processes. Two electrode arrangements : a pair of 9x10 cm2 electrode (named single cell) and 3 pairs of 3x10 cm2 electrodes (named monopolar multiple electrode with cell in parallel), were compared at four different current levels; 250, 500, 1,000 and 2,000 mA. In the second section, optimum conditions obtained from the first section were applied for the industrial wastewater. Results from the first section, where initially 24-mM Zn was included in the synthetic wastewater, the optimized pHs of 10 and 9 resulted in 99.68% and 99.71% zinc removal by chemical precipitation with sodium hydroxide and sodium sulfide, respectively. A 100% zinc elimination was achieved in 6 hours duration using electrochemical process with 3-pair electrode arrangement at 500 mA applied current. In the second section where the industrial wastewater containing 3 mM zinc were investigated, 99.4% zinc was precipitated by either sodium hydroxide or sodium sulfide and 24% of zinc was removed in 6 hours under the electrochemical optimized conditionen
dc.format.extent1926814 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.76-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดสังกะสีen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโลหะหนักen
dc.titleการกำจัดสังกะสีจากน้ำเสียโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยเรยอนโดยกระบวนการตกตะกอนทางเคมี และกระบวนการทางไฟฟ้าเคมีen
dc.title.alternativeZinc removal from rayon fiber production factory wastewater using chemical precipitation and electrochemical processesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKhemarath.O@chula.ac.th-
dc.email.advisorkraiya@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.76-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saharat_Ch.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.