Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16990
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุ คนองชัยยศ-
dc.contributor.authorณัฏฐวีร์ โควสุวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-25T08:30:45Z-
dc.date.available2012-02-25T08:30:45Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16990-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการแสดงภาพเคลื่อนไหวของเมฆในสามมิติจากภาพถ่ายดาวเทียมสองมิติ มีความสำคัญอย่างมากต่อการศึกษาสภาพภูมิอากาศของโลก เนื่องจากภาพถ่ายดาวเทียมเป็นภาพที่บันทึกข้อมูลสภาพภูมิอากาศจริงในแต่ละช่วงเวลา และการนำภาพถ่ายดาวเทียมสองมิติมาแสดงผลเป็นภาพเมฆสามมิติด้วยวิธีการทางคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ จะช่วยเพิ่มมุมมองของภาพให้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้มีหลายแอพพลิเคชั่นที่ต้องการแสดงภาพเมฆในสามมิติจากภาพถ่ายดาวเทียม อาทิเช่น ในการสร้างมโนภาพของภูมิอากาศ การรายงานสภาพอากาศ และในโปรแกรมจำลองการบิน เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามภาพถ่ายดาวเทียมมักถูกบันทึกในช่วงเวลาที่ต่างกัน จึงทำให้การแสดงภาพเคลื่อนไหวของเมฆขาดความต่อเนื่อง ฉะนั้นจึงนิยมสร้างเฟรมของภาพถ่ายดาวเทียมหรือภาพสามมิติ ส่วนที่ไม่มีข้อมูลขึ้นมาใหม่เพื่อช่วยให้ภาพเคลื่อนไหวของเมฆมีความต่อเนื่อง ขั้นตอนแรกของงานวิจัยจะเป็นส่วนการสร้างข้อมูลสามมิติของเมฆจากภาพถ่ายดาวเทียมต้นทางและภาพถ่ายดาวเทียมปลายทาง โดยใช้วิธีทางเซลลูลาร์ออโตมาตาที่พัฒนาขึ้นใหม่ สำหรับจำลองภาพสามมิติของเมฆจากภาพถ่ายดาวเทียม จากนั้นจึงนำข้อมูลสามมิติของภาพถ่ายดาวเทียมทั้งสองภาพ มาสร้างเป็นภาพเคลื่อนไหวของเมฆด้วยการประยุกต์หลักการของวิธีออโตมาตาแบบแก๊สแลตทิซ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้สำหรับสร้างพลวัตรให้กับอนุภาคของไหลภายใต้การเคลื่อนที่แบบกริด และนำสถานะเวกเตอร์ความเร็วของเพื่อนบ้าน มาเป็นเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงทิศทาง สำหรับการทดสอบวิธีของงานวิจัยฯ ผู้วิจัยได้พัฒนาซอฟแวร์ที่ใช้ประมวลผลภาพสามมิติของเมฆจากภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อทดสอบกับภาพถ่ายดาวเทียมที่มีเมฆหลายๆ แบบ ซึ่งวิธีการของงานวิจัยฯ มีความรวดเร็วในการประมวลผล และสามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวของเมฆในสามมิติได้อย่างน่าพอใจเมื่อเทียบกับวิธีการอื่นen
dc.description.abstractalternativeThe visualization and animation of 3D cloud from satellite images are important for understanding the climate change around our atmosphere. Animation cloud in 3D using real world data (like satellite cloud image) is suitable for many applications such as 3D weather visualization, weather report, and flight simulation. The techniques to implement these applications are through computer graphics. It is more applicable to visualize cloud from many perspectives not only as apperared in top-view image which is provided from the satellite image. However the sequences of satellite images are usually disconnected from each others from different time, the result of animation might not be smooth. Therefore the interpolating new frames of cloud are utilized to output smoothed image cloud sequences. In the first step, satellite images were separated into several layers by classifying image’s pixel intensities, and then the rule based on Cellular Automata (CA) was be used for generating 3D cloud. After that, the interpolation method referring to the rule of Lattice Gas Cellular Automata (LGCA) - the fluid simulation method which directs every vector on a grid by the condition of neighboring node - was developed to animate 3D cloud from the time t1 to time t2. An application is developed for testing these methods with several satellite images, the result of 3D cloud is fast and has good appearance compared with other techniques.en
dc.format.extent3882761 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.972-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์en
dc.subjectเมฆen
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกลen
dc.subjectเซลลูลาร์ออโตมาตาen
dc.titleการสร้างภาพเคลื่อนไหวเมฆในสามมิติโดยใช้ออโตมาตาแบบแก๊สแลตทิชen
dc.title.alternativeThree dimensional cloud animation using lattice gas automataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorpizzanu@cp.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.972-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattawee_ko.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.