Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิษณุ โคตรจรัส-
dc.contributor.authorเทพธรณ์ หรูจิตตวิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-26T14:01:03Z-
dc.date.available2012-02-26T14:01:03Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17081-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractออกแบบและพัฒนากรอบการทำงานของปัญญาประดิษฐ์ สำหรับตัวละครผู้ช่วยผู้เล่นในเกมออนไลน์ แบบผู้เล่นจำนวนมากในโลกเสมือนที่มีความต่อเนื่อง ตัวละครที่สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้เหมาะสมกับสถานการณ์ภายในเกมได้นั้น เป็นจุดเริ่มต้นของแนวทางในการพัฒนาเกมแบบใหม่ที่มีการนำความต่อเนื่องในโลกเสมือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ กรอบการทำงานในวิทยานิพนธ์นี้ใช้ขั้นตอนทางพันธุกรรมในการเรียนรู้ ซึ่งมีการนำเสนอการจัดหมวดหมู่ประเภทของตัวละครในการลดขนาดของประชากรในกลุ่มการทดลอง และมีการนำพฤติกรรมของผู้เล่นมาเลียนแบบเพื่อช่วยให้การเรียนรู้สามารถทำได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น ทำการทดลองบนเกมออนไลน์แบบผู้เล่นจำนวนมากที่ เปิดให้บริการและได้รับความนิยม ผลการทดลองพบว่าปัญญาประดิษฐ์สามารถเรียนรู้ได้ภายในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งได้เปรียบเทียบกับสถิติเวลาในการเล่นเกมออนไลน์ของผู้เล่นทั่วไป และพฤติกรรมหลังการเรียนรู้ของตัวละครที่ได้นั้นอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ โดยสำรวจจากแบบสอบถามen
dc.description.abstractalternativeTo present the design and development of a framework for artificial intelligence of a supporting character in massively multiplayer online games running a persistent world. Characters capable of learning and adapting their behavior to suit a situation in games initiate a new trend in game development that makes used of persistent worlds. The proposed framework uses genetic algorithm for its learning mechanism. A character categorization technique is proposed in order to reduce population size in test groups. Player imitation is also used to accelerate the learning process. The experiments are carrier out on a popular commercial massively multiplayer online game. Results show that the proposed artificial intelligence is capable of learning satisfactory behavior within a suitable time period, compared to a statistically available playing time of average playersen
dc.format.extent11532523 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.29-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเกมอินเตอร์เน็ตen
dc.subjectปัญญาประดิษฐ์en
dc.titleกรอบการทำงานสำหรับปัญญาประดิษฐ์ตัวละครผู้ช่วยเล่นที่สามารถเรียนรู้ได้ในระบบเกมออนไลน์แบบผู้เล่นจำนวนมากen
dc.title.alternativeFramework for learnable buddy in massively mutiplayer online role-playing gamesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVishnu.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.29-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
theppatorn_rh.pdf11.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.