Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/170
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธวัชชัย จิตรภาษ์นันท์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐพงศ์ รู้ซื่อ, 2523- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-05-30T04:20:07Z | - |
dc.date.available | 2006-05-30T04:20:07Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741763646 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/170 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | กรศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความเหมาะสมของแบบจำลอง Fama-French (Fama French Three Factor Model) ซึ่งเป็นแบบจำลองราคาหลักทรัพย์ที่นำเสนอโดย Fama-French ในปี 1993 โดยเป็นการนำเอาปัจจัยความเสี่ยงที่เกี่ยวเนื่องกับขนาด (Size effect) และอัตราส่วนมูลค่าบัญชีส่วนด้วยมูลค่าตลาด (BE/ME effect) เข้ามาพิจารณาร่วมกับปัจจัยตลาด (Market effect) ในการอธิบายความผันผวนของอัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทั้งทำการศึกษาเปรียบเทียบกับแบบจำลอง CAPM (Capital Asset Pricing Model) ควบคู่กันไป และได้ทำการทดสอบผลของเดือนมกราคม (January effect) ที่ส่งผลต่ออัตราผลตอบแทนและตัวแปรในแบบจำลองที่ศึกษา โดยใช้ข้อมูลของหลักทรัพย์ทุกตัวที่มีการบันทึกในฐานข้อมูล Data Stream เป็นรายเดือน ในช่วงเวลาตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2533 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2547 รวมทั้งสิ้น 177 เดือน ผลการศึกษาพบว่า ขนาดบริษัท และอัตราส่วนมูลค่าบัญชีต่อมูลค่าตลาด มีนัยสำคัญต่อการอธิบายอัตราผลตอบของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังนั้นการนำปัจจัยทั้งสองดังกล่าวข้างต้นเข้าไปร่วมกับปัจจัยตลาด ตามแนวทางของแบบจำลอง Fama-French จึงส่งผลให้ความสามารถในการอธิบายความผันผวนของความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ดีขึ้น มากกว่าการการใช้ปัจจัยตลาดเพียงปัจจัยเดียวตามแบบจำลอง CAPM และจากการศึกษาพบผลกระทบของเดือนมกราคม (January effect) ในดัชนีราคาหลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แต่ไม่พบผลดังกล่าวในกลุ่มหลักทรัพย์ย่อยอื่นๆ ที่ใช้ในการศึกษา | en |
dc.description.abstractalternative | This study empirically examines the Fama-French three-factor model of stock returns for Thailand. The Fama-French three-factor model was proposed by Fama and French in 1993, which added a size effect and a book to market ratio effect (BE/ME effect) into the Capital asset pricing model (CAPM), which only incorporates market effects, to explain stock returns. In addition, the study also test the January effect in Thailand market. The sample consists of monthly data obtained from DATA STREAM database, over the period January 1990 to September 2004. The results show that adding two factors, namely the size factor and the BE/ME factor, to the CAPM improves the efficiency of capturing the risk and return in Thai markets. Therefore, the study confirms that the Fama-Frech three factor model explains the common variation in stock returns better than the traditional one factor CAPM. However, the January effect is detected only in the market index but none in other portfolios in the study. | en |
dc.format.extent | 1355934 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.340 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | อัตราผลตอบแทน | en |
dc.subject | การลงทุน | en |
dc.title | การทดสอบแบบจำลอง Fama-French ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Test of the Fama-French model in the stock exchange of Thailand | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Thawatchai.J@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.340 | - |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nattapong.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.