Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณาณัฏฐ์ธัญ วงศ์บ้านดู่-
dc.contributor.authorวรวุฒิ อ่อนน่วม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-28T14:42:22Z-
dc.date.available2012-02-28T14:42:22Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17130-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงลักษณะการเข้ารหัสใหม่ในกระบวนการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำทางสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอ และเพื่อให้ทราบ ถึงผลของการเข้ารหัสใหม่ ในกระบวนการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำทางสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอ จากการศึกษาพบว่า การเข้ารหัสใหม่ในกระบวนการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำของสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอ ประกอบด้วย (1) หลักการในการออกอากาศซ้ำ โดยการจำแนกภาพยนตร์ การกำหนดรูปแบบในการออกอากาศซ้ำที่มีความชัดเจน และเป็นระบบ (2) การสร้างการรับรู้ภาพยนตร์ล่วงหน้า (Pre-Text) โดยผ่านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ (Teaser) และรายการพิเศษ (Special Program) ในการสร้างกระบวนการในการรับรู้ ตามธรรมชาติของการรับรู้ของมนุษย์ (3) การสร้างความสัมพันธ์ให้กับภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำ (Co-Text) ซึ่งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ของภาพยนตร์ที่ออกอากาศให้มีลักษณะเชื่อมโยงกันโดยใช้บริบท (Context) ในการรับชมด้วยลักษณะความสัมพันธ์ของภาพยนตร์ เช่น ผู้แสดงนำ หรือแก่นของเรื่อง ผลการเข้ารหัสใหม่ของการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์เอ็ชบีโอ โดยใช้ปัจจัยทางการสื่อสาร ในการสร้างความน่าสนใจให้กับกระบวนการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำนั้น สามารถสร้างความพึงพอใจในการรับชมภาพยนตร์ให้แก่ผู้ชมได้ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้อาจขึ้นอยู่กับความน่าสนใจของภาพยนตร์และรสนิยมของผู้ชม รวมไปถึงพฤติกรรมในการรับชม ซึ่งผู้ชมจะเป็นผู้เลือกรับชมตามความต้องการและภายใต้บริบทของการรับชมของตนเอง (Active Audience) ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ทางสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอ ไม่สามารถควบคุมได้en
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research has objectives to know the characteristics of re-encoding in the presentation process of movies rerun on HBO Channel and its result. The result is that re-encoding in the presentation process of movies rerun on HBO Channel has three characteristics: firstly movie classification and systematic rerun pattern. Secondly, Pre-Text building via public relations advertisements with Teaser and Special Program. Thirdly, Co-Text building on each movie in relation to its context such as leading actors or main theme. The result of re-encoding in the presentation process of movies rerun on HBO Channel uses communication factors in order to enhance audience’s interest on movies rerun which can make the audience’s satisfied in the certain level. The concerned factors are movies interest for each story, audience tastes as well as their viewer behavior. The audiences as active audience choose to watch rerun movies as they want. Therefore, HBO Channel cannot control these factorsen
dc.format.extent2673508 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.728-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอen
dc.subjectภาพยนตร์en
dc.titleการเข้ารหัสใหม่ในกระบวนการนำเสนอภาพยนตร์ที่ออกอากาศซ้ำทางสถานีโทรทัศน์ เอ็ชบีโอen
dc.title.alternativeThe re-encoding in the presentation process of movies rerun on HBO channelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNanatthun.W@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.728-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
worrawut_on.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.