Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17139
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธราพงษ์ วิทิตศานต์ | - |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ โมสิกมาศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-02-29T14:29:22Z | - |
dc.date.available | 2012-02-29T14:29:22Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17139 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เน้นศึกษาถึงกระบวนการแตกตัวของกลีเซอรอลเหลือทิ้งเป็นเชื้อเพลิงเหลวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก ขนาด 70 มิลลิลิตร เพื่อศึกษาอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ที่ส่งผลต่อร้อยละผลได้ผลิตภัณฑ์น้ำมันและองค์ประกอบที่ดีที่สุด ตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย อุณหภูมิ 380-440 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 30-75 นาที ภายใต้ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้น 100 ปอนด์/ตารางนิ้ว และชนิดของตัวเร่งปฏิกิริยา คือ ตัวเร่งปฏิกิริยา HZSM-5 และ 10% เหล็กบนถ่านกัมมันต์ โดยใช้น้ำหนักของตัวเร่งปฏิกิริยาแต่ละชนิด 0.05-0.2 กรัม น้ำหนักสารตั้งต้น 20 กรัม เมื่อทำการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์น้ำมันโดยเครื่อง Simulated Distillation Gas Chromatograph (DGC) พบว่าภาวะที่ส่งผลต่อการเกิดปริมาณแนฟทาสูงสุด คือ อุณหภูมิ 420 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 45 นาที ภายใต้ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้น 100 ปอนด์/ตารางนิ้ว และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา HZSM-5 0.05 กรัม ได้ร้อยละผลได้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 71.07 โดยน้ำหนัก องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้มีปริมาณร้อยละผลได้ของแนฟทา 22.81 เคโรซีน 15.99 แก๊สออยล์เบา 23.88 แก๊สออยล์ 1.92 และกากน้ำมัน 6.47 และในกรณีที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา 10% เหล็กบนถ่านกัมมันต์ พบว่าภาวะที่ส่งผลต่อการเกิดปริมาณแนฟทาสูงสุด คือ อุณหภูมิ 420 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 45 นาที ภายใต้ความดันแก๊สไฮโดรเจนเริ่มต้น 100 ปอนด์/ตารางนิ้ว และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา 0.05 กรัม ได้ร้อยละผลได้ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 67.77 โดยน้ำหนัก องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์น้ำมันที่ได้มีปริมาณร้อยละผลได้ของแนฟทา 28.94 เคโรซีน 9.49 แก๊สออยล์เบา 21.69 แก๊สออยล์ 1.15 และกากน้ำมัน 6.51 และเมื่อนำไปวิเคราะห์หาหมู่ฟังก์ชันพบว่ามีหมู่ฟังก์ชันหลักเป็นแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน เมื่อเทียบกับหมู่ฟังก์ชันหลักในน้ำมันเบนซินออกเทน 91 แล้วพบว่ามีหมู่แอโรแมติกไฮโดรคาร์บอนที่คล้ายคลึงกัน | en |
dc.description.abstractalternative | The main objective of this research was aimed to study the catalytic cracking of waste glycerol with HZSM-5 and 10% Fe/Ac catalyst in micro-reactor of 70 ml by varied operating condition at reaction temperature range of 380-440 °C, reaction time 30-75 min, initial hydrogen pressure 100 psi, mass of HZSM-5 and 10% Fe/Ac catalyst 0.05-0.2 g and weight of waste glycerol is 20 g. The analyzed oil product from Simulated Distillation Gas Chromatograph (DGC) was found that reaction temperature of 420 °C, reaction time 45 min, initial hydrogen pressure 100 psi by using 0.05 g HZSM-5 catalyst was the best condition. The oil yield was 71.07 % by weight, 22.81 % Naphtha, 15.99 % Kerosene, 23.88 % Light gas oil, 1.92 % Gas oil and 6.47 % Long residue. In case of using 10% Fe/Ac catalyst it was found that reaction temperature of 420 °C, reaction time 45 min, initial hydrogen pressure 100 psi by using 0.05 g 10% Fe/Ac was the best condition that gave the highest yield of naphtha. The oil yield was 67.77 % by weight, 28.94 % Naphtha, 9.49 % Kerosene, 21.69 % Light gas oil, 1.15 % Gas oil and 6.51 % Long residue. It was found that the product also found an aromatic hydrocarbon in main structure. Comparing the product and benzene (octane 91) the structure was similar | en |
dc.format.extent | 2690375 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.433 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ตัวเร่งปฏิกิริยา | en |
dc.subject | กลีเซอรีน | en |
dc.subject | เชื้อเพลิงเหลว | en |
dc.subject | ปฏิกิริยาเคมี | en |
dc.subject | เครื่องปฏิกรณ์ | en |
dc.title | การแตกตัวเชิงเร่งปฏิกิริยาของกลีเซอรอลเหลือทิ้งเป็นเชื้อเพลิงเหลวในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก | en |
dc.title.alternative | Catalytic cracking of waste glycerol to liquid fuel in microreactor | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | tharapong.v@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.433 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sauwalak_mo.pdf | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.