Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17147
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริวัฒนา บัญชรเทวกุล-
dc.contributor.authorกาญจนา กิติดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-29T14:52:31Z-
dc.date.available2012-02-29T14:52:31Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17147-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractเตรียมฟิล์มวัดปริมาณรังสีแกมมาจากโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ผสมสีย้อมธรรมชาติที่สกัดจากใบผีเสื้อราตรี และครั่ง วัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่อง UV-VIS Spectrophotometer ได้ทำการศึกษาหาส่วนประกอบ และความหนาที่เหมาะสมของฟิล์มวัดปริมาณรังสีแกมมา และเพิ่มความไวต่อรังสีของฟิล์มวัดปริมาณรังสีแกมมาโดยการเติม chloral hydrate ที่ความ เข้มข้นต่างๆ วัดค่าการดูดกลืนแสงของฟิล์มที่เตรียมขึ้นในสัดส่วนที่เหมาะสม ที่ค่าความยาว คลื่นแสงที่ฟิล์มมีการตอบสนองต่อรังสี พบว่าฟิล์มที่เตรียมขึ้นจากโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ผสม สีสกัดจากใบผีเสื้อราตรี สามารถวัดปริมาณรังสีแกมมาได้ในช่วง 5-30 kGy ที่ความยาวคลื่น แสง 546 นาโนเมตร ส่วนฟิล์มที่เตรียมขึ้นจากโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ผสมสีสกัดจากครั่งโดย ไม่มีการเติม chloral hydrate สามารถวัดปริมาณรังสีแกมมาได้ในช่วง 10-40 kGy ที่ความยาว คลื่นแสง 365 นาโนเมตร และ 10-60 kGy ที่ความยาวคลื่นแสง 497 นาโนเมตร และที่มีการเติม chloral hydrate สามารถวัดปริมาณรังสีแกมมาได้ในช่วง 0-30 kGy ที่ความยาวคลื่นแสง 365 นาโนเมตร และพบว่าความหนาของฟิล์ม ความเข้มข้นของสีย้อม และความเข้มข้นของ chloral hydrate มีผลต่อการตอบสนองของฟิล์ม ได้ทำการทดสอบผลของความชื้น แสง และ อุณหภูมิต่อเสถียรภาพของฟิล์มก่อน และหลังฉายรังสีแกมมาด้วยen
dc.description.abstractalternativeGamma dosimetric properties of thin film from polyvinyl alcohol (PVA) with dye from indian park leaf and polyvinyl alcohol with dye from crude LAC were studied. Effect of film conditions (composition, thickness, dyes color intensity, and choral hydrate concentration) on film responses (gamma dose and wavelength) were determined. Humidity and temperatures were also found to have some effects on film stability both before and after irradiation. The results showed that PVA film with indian park leaf dye was suitable for gamma dosimeter at 546 nm wavelength and 5-30 kGy range. The PVA film with crude LAC was suitable for gamma dosimeter at 365 nm wavelength and 10-40 kGy range, and at 497 nm wavelength and 10-60 kGy. The PVA film with crude LAC and chloral hydrate was suitable for gamma dosimeter at 365 nm wavelength and 0-30 kGyen
dc.format.extent1625550 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.510-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟิล์มบางen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.subjectโพลิไวนิลแอลกอฮอล์en
dc.titleการพัฒนาฟิล์มบางวัดปริมาณรังสีแกมมาโดยใช้โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ร่วมกับสีจากใบผีเสี้อราตรีและครั่งen
dc.title.alternativeDevelopment of a gamma-ray thin film dosimeter using polyvinyl alcohol and dyes from Indian park leaf and crude lacen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfnesbc@eng.chula.ac.th, Siriwattana.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.510-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanchana_ki.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.