Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17520
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรวรรณ องค์ครุฑรักษา | - |
dc.contributor.author | เบญญาภา ฐิตวัฒนาคุณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-09T14:09:39Z | - |
dc.date.available | 2012-03-09T14:09:39Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17520 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ในกลุ่มประชากรแต่ละกลุ่ม 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข้อมูลข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กับการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ และ 3) อิทธิพลของเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่มีผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ โดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นผู้ที่เคยเข้าไปใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ทั้งเพศชายและหญิง อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 416 ชุด ผลการวิจัยพบว่า การเปิดรับข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ของกลุ่มประชากรที่มีเพศ อายุ สถานภาพ และระดับการศึกษา ที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ยกเว้นปัจจัยด้านอาชีพ และระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ซึ่งทั้งสองด้านนี้มีผลต่อการเปิดรับข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การเปิดรับข่าวสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 การรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ โดยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์มีมากกว่า การรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ ที่ไม่ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to study how people in different demographics were exposed to social networking media 2) to study the correlation between the exposure of social networking media and business image perception and 3) to compare the effectiveness between image of businesses which use and do not use social networking media. The quantitative research method (questionnaire) was used. Respondents were 416 social networking media users age 15 years old up. The research findings were as follows: people's exposure to social networking media was no statistically significant difference in gender, age, social status and education level. But there was a statistically significant difference (p<0.05) in occupations and revenues. There was a statistically significant correlation (p<0.05) between people's exposure to social networking and business image perception. Furthermore, the results showed that the image of business that uses social networking media was more positive than the one that does not use social networking media | en |
dc.format.extent | 1691904 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.384 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาพลักษณ์องค์การ | en |
dc.subject | เครือข่ายสังคมออนไลน์ | en |
dc.title | การรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรธุรกิจ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การประชาสัมพันธ์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | worawan.o@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.384 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
benyapha_ti.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.