Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย เยี่ยงวีรชน-
dc.contributor.advisorสัญญา สราภิรมย์-
dc.contributor.authorสนธยา โชคเศรษฐกิจ, 2513--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-15T05:26:12Z-
dc.date.available2006-08-15T05:26:12Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745311995-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1753-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการใช้แบบจำลอง 3 มิติในการแสดงผลข้อมูลธรณีวิทยาสามารถสื่อให้นักธรณีวิทยามีความเข้าใจลักษณะของชั้นหินและโครงสร้างธรณีวิทยาได้ชัดเจนขึ้นโดยเฉพาะมิติที่ 3 ปัจจุบันโปรแกรมทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีขีดความสามารถในการแสดงผล 3 มิติได้ นอกจากใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลธรณีวิทยาแล้ว ยังสามารถสร้างแบบจำลองขึ้นเพื่อการแสดงผลได้ ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาและพัฒนาขั้นตอนการสร้างแบบจำลองธรณีวิทยา โดยใช้กรณีศึกษาของชั้นหินตะกอนและหินแปรด้วยโปรแกรมอาร์กวิว 8.1 และโมดูล 3D Analyst 1.0 ซึ่งได้พัฒนาโปรแกรม 2 โปรแกรมคือ โปรแกรมประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นเพื่อจัดรูปแบบข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และโปรแกรมสร้างแบบจำลอง 3 มิติ ของโครงสร้างธรณีวิทยา และการลำดับชั้นหิน ผลลัพธ์ของการสร้างแบบจำลองสามารถแสดงผลเป็นภาพตัดขวางธรณีวิทยา และพื้นผิว TIN (Triangulated Irregular Network) ของระนาบชั้นหินและรอยเลื่อน กระบวนการส่วนแรกของโปรแกรมประกอบด้วยขั้นตอน การวิเคราะห์โครงสร้างธรณีวิทยา การจัดกลุ่มหินตามโครงสร้างธรณีวิทยา การเรียงลำดับอายุของกลุ่มหินและหมวดหิน ซึ่งได้ให้ข้อมูลเส้นลำดับอายุที่ประกอบด้วยข้อมูลขอบเขต รอยเลื่อนและเส้นสัมผัสหมวดหิน แล้วจึงผ่านกระบวนการส่วนที่ 2 คือการนำไปสร้างแบบจำลองธรณีวิทยา ด้วยการนำข้อมูลเส้นลำดับอายุมาขยายเป็นการวางตัวที่แตกต่างกันตามโครงสร้างทางธรณีวิทยา และสร้างพื้นผิว TIN ของชั้นหินขึ้น การสร้างภาพตัดขวางทำได้ด้วยการดึงข้อมูลเส้นหน้าตัดบนพื้นผิว TIN ทุกพื้นผิวที่อยู่ในแนวตัดขวางออกมา เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาหาความสัมพันธ์ระหว่างชั้นหินและรอยเลื่อน ผลลัพธ์สุดท้ายของการจำลองได้ภาพตัดขวางธรณีวิทยาที่มีค่าพิกัดแบบ 3 มิติen
dc.description.abstractalternativeThe use of 3D modeling to represent geological data can display stratigraphy and geological structure distinctly, particularly in depth dimension. Nowadays, Geographic Information System (GIS) program becomes the effectual tool which can provide geological data management, 3D visualization and display. The objective of this study aims at developing 3D modeling of sedimentary and metamorphic rocks using ArcView 8.1 and 3D Analyst 1.0. The processes include 2 modules: 1) preparing and analyzing geological data captured in form of GIS data and 2) 3D modeling geological planer structures and rock sequences. The study results are geological cross-section and Triangulated Irregular Network (TIN) surfaces of rock contact and fault planes. The first module involves analysis of rocks and geological structures in terms of grouping, age sorting, and polylines ordering. The ordered polylines of study area boundary, faults and rock boundaries are used in the second module to generate TIN surfaces orientated according totheir attitude information. The cross-section is constructed using elevation data extracted from each TIN surface profiles and rock sequences from ordered polylines. The final result is geological cross-section showing relationship of rock units and fault surfaces with 3D coordinates.en
dc.format.extent1184872 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบจำลองทางธรณีวิทยาen
dc.subjectการสำรวจทางธรณีวิทยาen
dc.subjectหินตะกอนen
dc.subjectหินแปรen
dc.subjectอาร์กวิวen
dc.subjectโปรแกรมคอมพิวเตอร์en
dc.titleการสร้างแบบจำลองธรณีวิทยา 3 มิติของหินตะกอนและหินแปร จากข้อมูลการสำรวจธรณีวิทยาภาคสนามบนโปรแกรมอาร์กวิวen
dc.title.alternative3D geological modeling of sedimentary and metamorphic rocks from geological mapping data on Arcview programen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineระบบสารสนเทศปริภูมิทางวิศวกรรมen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVichai.Y@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SonthayaCh.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.