Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17557
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสีรุ้ง ปรีชานนท์-
dc.contributor.advisorชัญชนา ธนชยานนท์-
dc.contributor.authorยุสราน ดาโอ๊ะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-09T15:40:49Z-
dc.date.available2012-03-09T15:40:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17557-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาเป็นการดัดแปลงพื้นผิวกลาสสิคาร์บอนอิเลคโทรดด้วยอนุภาคนาโนทองด้วยวิธี เคมีไฟฟ้า และนำไปใช้ในการตรึงเอนไซม์ฮอร์สแรดิชเปอร์ออกซิเดสด้วยพอลิไพรอลโดยวิธีอิเลคโทรพอลิ เมอร์ไรเซชัน งานวิจัยส่วนแรกศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการสังเคราะห์อนุภาคนาโนทองโดยใช้ เคมีไฟฟ้าบนกลาสสิคาร์บอนอิเลคโทรดที่ความเข้มข้นของ AuCl4 - ที่ 0.1, 0.5 และ 1 มิลลิโมลต่อลิตร และใช้เวลาในการให้ศักย์ไฟฟ้า 5, 30 และ 60 วินาที พบว่า อนุภาคนาโนทองบนกลาสสิคาร์บอนอิเลค โทรดช่วยเพิ่มการตอบสนองสัญญาณทางไฟฟ้า สภาวะที่เหมาะสมของการสังเคราะห์อนุภาคนาโนทอง ที่ความเข้มข้น 0.5 มิลลิโมลต่อลิตร และใช้เวลาในการให้ศักย์ไฟฟ้า 30 วินาที เส้นผ่าศูนย์กลางและ ความสูงของอนุภาคนาโนทอง 56.22 และ 33.27 นาโนเมตร ตามลำดับ และมีจำนวนอนุภาคนาโนทอง 4.05 x109 อนุภาค/ ซม2 จากข้อมูลในส่วนแรกนำมาใช้ในการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของการตรึง รูปเอนไซม์ด้วยพอลิไพรอลด้วยวิธีอิเลคโทรพอลิเมอร์ไรเซชัน โดยศึกษาอิทธิพลของความเข้มข้นของ ไพรอลมอนอเมอร์ (0.03, 0.05, 0.07, 0.09, 0.011 และ 0.13 โมลต่อลิตร) อิทธิพลของจำนวนรอบ ( 5, 10, 15, 20 และ 25 รอบ ) พบว่าความเข้มข้นของไพรอลมอนอเมอร์ที่เหมาะสมคือ 0.09 โมลต่อลิตร และใช้จำนวนรอบ 10 รอบ มีค่าการตอบสนองของกระแสไฟฟ้าสูงสุด -1953 นาโนแอมแปร์ จาก การศึกษาพบว่ามีช่วงความเป็นเส้นตรงของฟีนอล 3.0x10-5- 2.1x10-4 โมลต่อลิตร ความว่องไวต่อการ ตอบสนอง 7.277 nA/μM (R2= 0.992) ความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถวัดได้ 2.54x10-5 โมลต่อลิตร (n=5), (S/N=3) และเวลาการตอบสนอง 50 วินาที นอกจากนี้การนำกลับมาใช้ใหม่ 10 ครั้ง มีประสิทธิภาพ ลดลงเหลือ 67.45% จากการวัดครั้งแรก เมื่อการจัดเก็บเป็นเวลา 3 วัน มีประสิทธิภาพลดลงเหลือ 68.34% และการผลิตซ้ำมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมพัทธ์ (%RSD) เท่ากับ 10.67en
dc.description.abstractalternativeIn this research, focused on electrodeposition gold nanoparticles modified glassy carbon electrode was used to immobilization of horseradish peroxidase (HRP, EC 1.11.1.7) with polypyrrole by electropolymerization process. In this study, the experiments were divided into two parts. Firstly, the optimum condition gold nanoparticles modified glassy carbon electrode were prepared for the electrodeposition by varying concentration of AuCl4 - (0.1, 0.5 and 1 mM) and deposition times (5, 30 and 60 s). It was revealed that gold nanoparticles improve the current response of electrode. The optimal condition modified electrode were determined at 0.5 mM gold solution and 30 s for deposition times. The particle diameter and high were 56.22 and 33.27 nm, respectively and total surface area of 4.05 x109 separate gold particles per cm2. Data from the first part were further applied to investigate with experimental design for optimum conditions of enzyme immobilization with polypyrrole. The optimum conditions for enzyme activity were determined at concentration of pyrrole (0.03, 0.05, 0.07, 0.09, 0.11 and 0.13 M) and number of cycle for electropolymerization (5, 10, 15, 20 and 25 cycle). The optimum conditions for enzyme reaction were found at 0.09 M and 10 cycle. It was found that the response current of electrode were -1953 nA. The biosensor showed a linear range from 3.0x10-5- 2.1x10-4 M, with sensitivity of 7.277 nA/μM (R2= 0.992), detection limit 2.54x10-5 M (n=5), (S/N=3) and response time 50 s. However, the current response of this biosensor decreased to 67.45% of the initial current after 10 repeated tests, and lost 68.34% of the initial response on the third day of storage. Moreover, the R.S.D. of this electrode reproducibility was 10.67%.en
dc.format.extent2983857 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.808-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอนุภาคนาโนen
dc.subjectขั้วไฟฟ้าคาร์บอนen
dc.subjectไบโอเซนเซอร์en
dc.titleการดัดแปลงอิเลคโทรดด้วยอนุภาคนาโนทอง / พอลิไพรอลสำหรับฟีนอลไบโอเซนเซอร์en
dc.title.alternativeGold nanoparticles/ polypyrrole modified electrode for phenol biosensoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorseeroong.p@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.808-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yusran_Da.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.