Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17675
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.advisorอุดร ยังช่วย-
dc.contributor.authorวารุณี เตยโพธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-10T05:59:54Z-
dc.date.available2012-03-10T05:59:54Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17675-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractพัฒนาเทคนิคการตรวจวัดรังสีแกมมาเพื่อใช้ในการเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีในเศษโลหะ โดยใช้หัววัดรังสี Nal(Tl) ขนาด 5 นิ้ว × 5 นิ้วเชื่อมต่อกับเครื่องนับรังสี LUDLUM 2200 ซึ่งมีอุปกรณ์นับรังสี/อัตรารังสี และอุปกรณ์วิเคราะห์แบบช่องเดี่ยวรวมอยู่ด้วยกัน เชื่อมต่อกับพอร์ตอนุกรมเพื่อใช้ในการส่งข้อมูลจำนวนนับรังสีไปยังโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านทางบริการส่งข้อความสั้น ในขั้นแรกได้ทำการหาค่าศักดาไฟฟ้าที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการวัดรังสีแกมมา สำหรับรังสีแกมมาพลังงาน 60 keV จากต้นกำเนิดรังสี Am-241 และ 662 keV จากต้นกำเนิดรังสี Cs-137 รวมทั้งรังสีแกมมาพลังงาน 1172 และ 1332 keV จากต้นกำเนิดรังสี Co-60 ต่อมาได้ทำการวัดรังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีทั้งสามชนิดแบบวัดเฉพาะพีคพลังงานรังสีแกมมา และแบบวัดรังสีแกมมาทั้งสเปกตรัม ซึ่งพบว่าระยะไกลที่สุดที่สามารถตรวจวัดรังสีแกมมาจากต้นกำเนิด Am-241 ที่มีความแรงรังสี 9.37 µCi, Cs-137 ที่มีความแรงรังสี 0.83 µCiและ Co-60 ที่มีความแรงรังสี 0.60 µCi, คือ 60, 65 และ 65 ซม. ตามลำดับ นอกจากนี้ยังได้ปรับเทียบความสัมพันธ์ระหว่างอัตราปริมาณรังสีกับอัตรานับรังสีดังกล่าวด้วย ในขั้นสุดท้ายได้ทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้นในการตรวจสอบการปนเปื้อนของรังสีแกมมาในตัวอย่างเศษโลหะที่ปนเปื้อน Co-60 4 ตัวอย่าง พบว่าสามารถวัดรังสีแกมมาจากตัวอย่างได้สูงกว่าแบคกราวด์อย่างชัดเจนแม้จะอยู่ในระยะห่าง เนื่องจากตัวอย่างที่นำมาทดสอบที่มีความแรงรังสีสูงen
dc.description.abstractalternativeTo develop of a gamma-ray measurement technique for monitoring of radioactive contamination in a scrap metal system using a 5” x 5” NaI(Tl) detector coupled with a LUDLUM 2200 Scaler/Ratemeter & SCA. The LUDLUM 2200 allowed data communication via a serial port. A GSM module was connected to the serial port to allow counting data transmission to mobile phone via available short message service (SMS) The optimum operating voltages and the detection efficiencies for different gamma-ray energies, i.e. 60 keV from Am-241, 662 keV from Cs-137 as well as 1172 and 1332 keV from Co-60, were first determined. The measurements were later performed in two case i.e. photopeak counting and full spectrum counting. The maximum detectable distances for 9.37 µCi, Am-241, 0.83 µCi, Cs-137 and 0.60 µCi Co-60 were found to be 60, 65 and 65 cm respectively. The relationship between the dose rate and the counting rate was also determined for the three gamma-ray sources. The system was finally used to measure gamma-ray from 4 scrap metal samples contaminated with Co-60. The measurement indicated high counting rate above the background level even at far distance due to high Co-60 activity in all samples.en
dc.format.extent3148145 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาเทคนิคการวัดรังสีแกมมาในเศษโลหะที่ปนเปื้อนด้วยวัสดุกัมมันตรังสีen
dc.title.alternativeDevelopment of a gamma-ray measurement technique for radioactive contamination in scrap metalsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNares.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Varunee_To.pdf3.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.