Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17744
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา ศรีไชยรัตน์ | - |
dc.contributor.advisor | ธีระยุทธ แก้วอมตวงศ์ | - |
dc.contributor.author | อัจฉราวรรณ โลหะวณิชย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-11T08:04:48Z | - |
dc.date.available | 2012-03-11T08:04:48Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17744 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | ยาเบื่อหนูชนิดอนุพันธ์คูมารินเป็นสาเหตุของความเป็นพิษที่พบมากที่สุดชนิดหนึ่งในสัตว์เลี้ยง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบหาความเป็นพิษของยาเบื่อหนูชนิดอนุพันธ์คูมารินใน สุนัข โดยการใช้ high performance liquid chromatography (HPLC) ร่วมกับ fluorescence detector เพื่อตรวจหายาเบื่อหนูชนิดต้านการแข็งตัวของเลือดจากพลาสมา และเปรียบเทียบกับ ค่าการแข็งตัวของเลือด activated partial thromboplastin time (APTT), One stage prothrombin time (OSPT) และ Thrombin time (TT) จากสุนัขทั้งกลุ่มที่สงสัยการได้รับสารพิษ และกลุ่มที่มีหลักฐานแน่ชัดว่าได้รับสารพิษชนิดนี้ ผลจากการศึกษาครั้งนี้พบว่าค่าการแข็งตัวของ เลือด และความเข้มข้นของยาเบื่อหนูชนิดต้านการแข็งตัวของเลือดรุ่นที่ 1 ในเลือดไม่มี ความสัมพันธ์กันโดยที่ค่าการแข็งตัวของเลือดยังคงเป็นปกติภายในวันแรกหลังจากการได้รับ สารพิษ จากการสอบถามประวัติการเบื่อหนูภายในบ้านจากเจ้าของสัตว์ป่วย และการ วิเคราะห์หายาเบื่อหนูชนิดอนุพันธ์คูมารินโดย HPLC พบว่าเหยื่อที่มีการนำมาใช้สำหรับเป็นยา เบื่อหนู และสัตว์เลี้ยงกินเข้าไปโดยไม่เจตนาคือ warfarin ผลการตรวจหาสารต้านการแข็งตัวของ เลือดจากเลือดสามารถยืนยันได้ว่า warfarin และ coumatetralyl ดูดซึมได้อย่างรวดเร็วเมื่อได้รับ โดยการกิน จากการศึกษาย้อนหลังของรอยโรคทางจุลพยาธิวิทยาของสุนัขที่ได้รับพิษจากยาเบื่อหนู ชนิดต้านการแข็งตัวของเลือด แสดงถึงการมีเลือดออกอย่างรุนแรงตามอวัยวะสำคัญต่างๆ โดย อวัยวะที่พบจุดเลือดออกมากที่สุดคือตับ รองลงมาคือไต, ลำไส้, หัวใจ และปอด โดยสุนัขแต่ละตัว ที่ได้รับสารพิษนั้นมีความรุนแรงของการเกิดจุดเลือดออกที่แตกต่างกันโดยขึ้นอยู่กับชนิดและ ปริมาณของสารพิษที่กินเข้าไป ตลอดจนสภาวะของตัวสัตว์เอง | en |
dc.description.abstractalternative | Anticoagulant rodenticides are one of the most common cause of companion animal intoxication. The aim of this study was to investigate the anticoagulant rodenticide poisoning in dogs. The presence of anticoagulant rodenticides in plasma was determined by HPLC with fluorescence detector. Activated partial thromboplastin time, prothrombin time and thrombin time were also investigated and compared in suspected and proved intoxicated dogs. No significant correlation was found between all coagulation times and the first generation rodenticide level in blood of the intoxicated dogs. All coagulation tests were normal in the first 24 hours after ingestion of anticoagulant rodenticides. According to their owner interview and HPLC identification, warfarin was the most accidental bait used rodenticides. The HPLC determination of these anticoagulants in blood confirmed that warfarin and coumatetralyl absorbed rapidly by oral ingestion. The retrospective study of histopathological lesions of anticoagulant rodenticide intoxicated dogs showed that there was excessive bleeding in various organs. Accordingly, the most excessive bleeding organs were liver, followed by kidneys, intestines, heart and lungs respectively. The severity of hemorrhage in these organs of intoxicated dogs were different. Types and amount of anticoagulant rodenticides ingested as well as animal status were considered to be the main factors of their toxic severity | en |
dc.format.extent | 2784602 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.481 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สารกันเลือดเป็นลิ่ม | en |
dc.subject | พยาธิวิทยา | en |
dc.subject | สุนัข | en |
dc.title | การศึกษาย้อนหลังทางพยาธิวิทยา และการศึกษาทางคลินิกของความเป็นพิษของยาเบื่อหนูชนิดต้านการแข็งตัวของเลือดรุ่นที่ 1 ในสุนัข | en |
dc.title.alternative | Retrospective of pathology and clinical studies of first generation anticoagulant rodenticide intoxication in dogs | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เภสัชวิทยาทางสัตวแพทยศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | supatrasri@hotmail.com | - |
dc.email.advisor | theerayuth71@hotmail.com | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.481 | - |
Appears in Collections: | Vet - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
acharawan_lo.pdf | 2.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.