Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17851
Title: | การปรับโฟรไฟล์สืบค้นให้เป็นส่วนบุคคลด้วยวิธีเสาะหาแบบมด |
Other Titles: | Personalization of search profile using ant foraging approach |
Authors: | ภัททิรา พินิจค้า |
Advisors: | พีระพนธ์ โสพัศสถิตย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | Peraphon.S@chula.ac.th |
Subjects: | การค้นข้อสนเทศ ระบบการจัดเก็บและค้นข้อสนเทศ |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ในปัจจุบันนี้ข้อมูลข่าวสารและผู้ใช้งานบนอินเตอร์เน็ต เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยเหตุนี้วิธีการในการนำข้อมูลข่าวสารมาเสนอแก่ผู้ใช้งานจึงมีเพิ่มมากขึ้นแต่อย่างไรก็ตามยัง คงเป็นเรื่องยากที่ผู้ใช้งานจะสามารถสืบค้นข้อมูลข่าวสารที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานได้ อย่างรวดเร็วทั้งนี้เนื่องมาจากผู้ใช้งานแต่ละคน มีความชอบและความสนใจที่แตกต่างกัน ถึงแม้ว่าผู้ใช้งานแต่ละคนจะใช้คำในการค้นหาคำเดียวกันสาเหตุสำคัญของปัญหานี้คือผลลัพธ์ ที่ได้จากการ สืบค้นข้อมูลข่าวสารของผู้ใช้งานแต่ละคนที่ใช้คำในการค้นหาคำเดียวกัน เหมือนกันด้วยเหตุนี้ผู้ใช้งานจึงต้องเสียเวลาในการพิจารณาผลลัพธ์แต่ละอันว่าผลลัพธ์อันไหน ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานมากที่สุด วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอการปรับโฟรไฟล์สืบค้นให้เป็นส่วนบุคคลโดยผลลัพธ์ที่ได้ จากการสืบค้นจะตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด จุดมุ่งหมายของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้คือ เสนอกระบวนการวิเคราะห์และวิธีการที่ทำให้ ผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้น ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานมากที่สุดโดยได้รับแรงบัลดาลใจ มาจากพฤติกรรมการหาอาหารของมด ขั้นตอนแรกคือการสร้างโฟรไฟล์ของผู้ใช้งาน โดยเก็บข้อมูลมาจากกิจกรรมของผู้ใช้งาน และนำมาวิเคราะห์ว่ามีใช้งานมีความสนใจ ในหัวข้ออะไรมากที่สุดโดยเลียนแบบพฤติกรรมการหาอาหารของมด ขั้นตอนที่สองคือการจัด หมวดหมู่ของข้อมูลที่ได้รับมาจากขั้นตอนแรก และขั้นตอนสุดท้ายคือนำข้อมูลที่ได้รับการ วิเคาระห์และจัดหมวดหมู่แล้วมาช่วยในการสืบค้นของผู้ใช้งาน ในส่วนของการทดลองนั้น จะพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ว่าตรงกับความต้องการของผู้ใช้งานมากเท่าไร จากผลลการทดลอง พบว่ากระบวนการข้างต้นช่วยเพิ่มผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน |
Other Abstract: | As the volume of information and users grows rapidly on the Internet, it increases popularity of search as a method for retrieving relevant information. However, it is difficult for users to find relevant documents to their current needs. When users submit a query words to a search engine, users must look through huge of results which most of them are irrelevant to find the relevant ones. The main problem is the search results are selected and presented in the same way for every user. However, each user has his own interests and preferences. This thesis is devoted to personalization search. The approach provides relevant search results based on the satisfaction of a user’s needs. This approach proposes a three-stage analysis of web navigation that yields search results being relevant to the user’s interests and preferences. The approach is inspired by ant foraging behavior. The first stage is to build a user’s profile based on user brewing histories and activities at the search sites to be proportional with the amount of pheromone deposited by the ants. The second stage classifies the user’s profile data to manage information into concepts in a reference concept hierarchy. The final stage personalizes the search results based on the user’s profile. The experiments mainly consider the search results with reference to the user’s profile in presenting the most relevant results to the user. The study found that the approach improved the rank order of the relevant search results. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17851 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2087 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.2087 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pattira_ph.pdf | 11.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.