Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราณี กุลละวณิชย์-
dc.contributor.advisorธีระพันธ์ เหลืองทองคำ-
dc.contributor.authorจรูญ บุญพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-14T15:46:55Z-
dc.date.available2012-03-14T15:46:55Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745616265-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17950-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาวิธีการทำเป็นการีตในภาษาญัฮกร โดยพิจารณาจากลักษณะของประโยคการีต ในกรณีที่เป็นประโยคการีตไม่ซับซ้อน จะพิจารณา 2 ลักษณะคือ รูปของหน่วยหน้าศัพท์ที่ปรากฏร่วมกับคำกริยา และการกของนามในประโยค ในกรณีที่ประโยคการีตซับซ้อนจะพิจารณา 2 ลักษณะคือ พิจารณากริยาหลักในประโยคซึ่งเป็นตัวกำหนดการกของนามที่เป็นประธานในประโยคหลัก และประเภทของกริยาในอนุประโยค และพิจารณากริยาในอนุประโยค ซึ่งเป็นตัวกำหนดการกของนามที่เป็นประโยคในอนุประโยค จากผลการวิเคราะห์อาจสรุปได้ว่า วิธีการทำเป็นการีตในภาษาญัฮกรมี 2 วิธีการคือ 1.วิธีการเติมหน่วยหน้าศัพท์ /pə-/, /tə-/, /khə-/ และ /kə-/ หน้ากริยาหลักซึ่งเป็นกริยาอกรรม การปรากฏของหน่วยหน้าศัพท์เหล่านี้จะเป็นไปตามเงื่อนไขของหน่วยคำการกของนามที่ต้องปรากฏในประโยคการีตแบบนี้มีอย่างน้อย 2 การกคือ การกผู้ก่อการกระทำ และการกผู้ทรงหรือเปลี่ยนสภาพ และอาจมีการกอื่นที่จะปรากฏหรือไม่ก็ได้ เช่น การรกจุดเริ่มต้น 2.วิธีการทางวากยสัมพันธ์ คือการเติมกริยาแสดงการีต páa? “ทำ” หรือ ?úər หน้าประโยคที่ต้องการแสดงการีต การกของนามที่เป็นประธานของกริยาแสดงการีตซึ่งทำหน้าที่เป็นกริยาหลักในประโยคการีตแบบนี้มี การกผู้ก่อการกระทำ และกรกเครื่องก่อการกระทำ ส่วนกริยาในอนุประโยคของประโยคการีตแบบนี้มี กริยาแสดงการเปลี่ยนแปลง กริยาแสดงอาการและกริยาแสดงอาการและการเปลี่ยนแปลง การกของนามที่เป็นประธานในอนุประโยคมี การกผู้ก่อการกระทำ การกผู้มีประสบการณ์ และการกผู้ทรงหรือเปลี่ยนสภาพ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to investigate causativization in Nyah Kur by analyzing the features of the causative sentence. Two aspects of the simple causative sentence are considered : the forms of the verb prefixes and the cases of the nouns in the sentence. Also, two aspects of the complex causative sentence are considered : the main verb, which determines the case of the noun-subject of the major sentence and determines the type of the verb in the minor sentence, and the verb in the minor sentence, which determines the case of the noun which functions as the subject of the minor sentence. From the analysis of the data it may be concluded that there are two processes of causativization in Nyah Kur : 1) morphological : prefixation of /pə-/, /tə-/, /khə-/ and /kə-/ to the main verb which is intransitive; the distribution of these prefixes is morphologically conditioned. The cases of the nouns which occur in this type of causative sentence must include at least ‘agent’ and ‘patient’ ; other cases, such as ‘source’, etc., may or may not occur. 2) syntactic: use of the causative verb / páa?/ “to make” or /?úər/ “to have sb. do sth.” In front of a sentence. The cases of the noun-subject of the causative verb, which is the main verb of the sentence, include ‘agent’ and ‘instrument’. The types of verbs occurring in the minor sentence of this causative sentence type include process, action, and action-process verbs. The cases of the noun which functions as the subject of the minor sentence include ‘agent’, ‘experiencer’, and ‘patient’.-
dc.format.extent314033 bytes-
dc.format.extent272705 bytes-
dc.format.extent318617 bytes-
dc.format.extent447912 bytes-
dc.format.extent616342 bytes-
dc.format.extent357472 bytes-
dc.format.extent284965 bytes-
dc.format.extent321544 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาไทย -- ภาษาถิ่นen
dc.subjectภาษาญัฮกุรen
dc.titleวิธีการทำเป็นการีตในภาษาญัฮกุรen
dc.title.alternativeCausativization in Nyah Kuren
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPranee.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorTheraphan.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaroon_Bu_front.pdf306.67 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch1.pdf266.31 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch2.pdf311.15 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch3.pdf437.41 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch4.pdf601.9 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch5.pdf349.09 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_ch6.pdf278.29 kBAdobe PDFView/Open
Jaroon_Bu_back.pdf314.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.