Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสวัสดิ์ ประทุมราช-
dc.contributor.authorกัญจนา ลินทรัตนศิริกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2012-03-15T13:42:32Z-
dc.date.available2012-03-15T13:42:32Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17960-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อความสัมพันธ์พหุคูณระหว่างเกณฑ์ ได้แก่คะแนนสัมฤทธิผลในหมวดวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาอังกฤษ และภาษาไทย โดยใช้คะแนนจากแบบสอบความถนัดร่วมกับแบบสอบความสนใจเป็นตัวทำนาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2518 ในกรุงเทพฯ จำนวน 442 คน แบบสอบความถนัดที่นำไปสอบกับกลุ่มตัวอย่างมี 4 ฉบับคือ แบบสอบความเข้าใจภาษาไทย แบบสอบความเข้าใจภาษาอังกฤษ แบบสอบความสามารถด้านจักรกล แบบสอบความสามารถทางคำนวณ ส่วนแบบตรวจสอบความสนใจในอาชีพมีอยู่ 10 ด้าน นำมาใช้เพียง 4 ด้าน คือ ความสนใจด้านจักรกล ความสนใจด้านคำนวณ ความสนใจด้านวิทยาศาสตร์ และความสนใจด้านวรรณกรรม คะแนนสัมฤทธิผลที่นำมาใช้เป็นตัวเกณฑ์ คือคะแนนสอบกลางปีจาก 4 หมวดวิชา คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ใช้คะแนนจากแบบสอบความถนัดแต่ละฉบับร่วมกับแบบสอบความสนใจแต่ละด้านเป็นตัวทำนาย ใช้สัมฤทธิผลในแต่ละหมวดวิชาเป็นตัวเกณฑ์ วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์ความตรงในการพยากรณ์ โดยใช้เทคนิคสหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า ตัวทำนายที่ใช้ร่วมกันในการทำนายสัมฤทธิผลในแต่ละหมวดวิชา ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเป็นดังนี้คือ 1.เมื่อใช้สัมฤทธิผลวิชาวิทยาศาสตร์เป็นตัวเกณฑ์ ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนจากแบบสอบความถนัดภาษาอังกฤษ ความสามารถทางคำนวณ และคะแนนจากแบบสอบความสนใจด้านจักรกล วิทยาศาสตร์ 2.เมื่อใช้สัมฤทธิผลวิชาคณิตศาสตร์เป็นตัวเกณฑ์ ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนจากแบบสอบความถนัดภาษาอังกฤษ ความสามารถทางคำนวณ และคะแนนจากแบบสอบความสนใจด้านจักรกล คำนวณ วิทยาศาสตร์ 3.เมื่อใช้สัมฤทธิผลวิชาภาษาอังกฤษเป็นตัวเกณฑ์ ตัวทำนายที่ดีไดแก่ คะแนนจากแบบสอบความถนัดภาษาอังกฤษ และคะแนนจากแบบสอบความสนใจด้านจักรกล วิทยาศาสตร์ 4.เมื่อใช้สัมฤทธิผลวิชาภาษาไทยเป็นตัวเกณฑ์ ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนจากแบบสอบความถนัดด้านจักรกล คำนวณ และคะแนนจากแบบสอนความสนใจด้านคำนวณ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to find the multiple regression equations in predicting achievement in four subjects which included Science, Mathematics, English, Thai by using four aptitude tests, four occupational interests combined as predictors. The sample of the study was 442 students of Mathayomsuksa III from six schools in Bangkok. The aptitude tests used are Mathematics Ability, Mechanical Reasoning, Reading Comprehension (English), Reading Comprehension (Thai). The occupational interests used are Mechanical, Computational, Scientific, Literary. The achievements used as criteria were from mid-year examination. The multiple correlation technique was applied to determine the effectiveness of predictors. The major findings of this study are as follows: 1.For achievement in Science, the best combined predictor are two aptitude tests scores: Reading Comprehension (English) and Mathematics Ability combination with two occupational interests: Mechanical and Scientific. 2.For achievement in Mathematics, the best combined predictor are two aptitude tests scores: Reading Comprehension (English) and Mathematics Ability combination with three occupational interests: Mechanical, Computational and Scientific. 3.For achievement in English, the best combined predictor are one aptitude test score: Reading Comprehension (English) combination with two occupational interests: Mechanical and Scientific. 4.For achievement in Thai, the best combined predictor are two aptitude tests scores: Mechanical Reasoning and Mathematics Ability combination with one occupational interest : Computational.-
dc.format.extent374059 bytes-
dc.format.extent309611 bytes-
dc.format.extent644541 bytes-
dc.format.extent375503 bytes-
dc.format.extent616312 bytes-
dc.format.extent344519 bytes-
dc.format.extent442449 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความถนัดen
dc.subjectสัมฤทธิผลen
dc.titleสหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างสัมฤทธิผลกับความถนัดและความสนใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe multiple correlation between achievement, aptitude and interest of mathayomsuksa III student in Metropolitanen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanchana_Li_front.pdf365.29 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_ch1.pdf302.35 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_ch2.pdf629.43 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_ch3.pdf366.7 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_ch4.pdf601.87 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_ch5.pdf336.44 kBAdobe PDFView/Open
Kanchana_Li_back.pdf432.08 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.