Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชัย พิศาลบุตร-
dc.contributor.authorณหทัย พีระปกรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-15T14:10:19Z-
dc.date.available2012-03-15T14:10:19Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17973-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการศึกษาผลกระทบของโครงการวางแผนครอบครัวที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์ ต้องการวัดอัตราเกิดอย่างหยาบ (CBR) ใน ๒ ช่วงเวลา คือ พ.ศ. ๒๕๑๓ ซึ่งเป็นปีที่เริ่มโครงการวางแผนครอบครัวและเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งเป็นปีที่มีการสำรวจภาวะเจริญพันธุ์ในประเทศไทย โดยวิธีวิเคราะห์ต่างกัน ๓ วิธี คือการวิเคราะห์แนวโน้ม (Trend Analysis) การวิเคราะห์แบบมาตรฐาน (Standardization Approach) และการวิเคราะห์ความถดถอย (Regression Analysis) ซึ่งนำข้อมูลทางประชากรมาใช้เป็นประโยชน์ในการเปรียบเทียบผลกระทบในแนวต่างๆ กันของโครงการวางแผนครอบครัวที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์ของประเทศไทย จากผลการวิเคราะห์ทั้ง ๓ วิธี ปรากฏว่า อัตราเกิดอย่างหยาบลดลง ๕.๘๒๕, ๖.๙๙๙๓ และ ๕.๖๒๑ ต่อพัน ตามลำดับ จากวิธีวิเคราะห์ทั้ง ๓ วิธี น่าจะเชื่อได้ว่า การวิเคราะห์แบบมาตรฐานให้ความเชื่อถือได้มากกว่าการวิเคราะห์แนวโน้ม และการวิเคราะห์ความถดถอย แต่โดยที่การวิเคราะห์แบบมาตรฐานมีข้อจำกัดเกี่ยวกับข้อมูลที่ใช้ กล่าวคือ ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสตรีในวัยเจริญพันธุ์ในปีที่ศึกษา และขั้นตอนของการวิเคราะห์ค่อนข้างยุ่งยาก ฉะนั้น การวิเคราะห์แนวโน้ม และการวิเคราะห์ความถดถอย ซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผลใกล้เคียง น่าจะเป็นวิธีที่จะนำมาใช้ได้ดีและสะดวกกว่า โดยเฉพาะวิธีวิเคราะห์แนวโน้มเป็นวิธีที่ทำให้รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายในการ เก็บรวบรวมข้อมูลน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับอีกสองวิธีดังกล่าว-
dc.description.abstractalternativeIn order to measure the impact of family planning program on fertility, three different methods are used to achieve this purpose: Trend Analysis, Standardization Approach and Regression Analysis. Crude birth rate is chosen to analyze the data on population structure and demographic characteristics in Thailand as the fertility indicator for the period of 1970 Census of Population and Housing to the Survey of Fertility in Thailand 1975. With reference to these three methods, the results show that crude birth rate decline of 5.825, 6.9993 and 5.621 per thousand respectively. Among the three different methods of measuring the impact of family planning program on fertility mentioned above, Standardization Approach is deemed to be the most appropriate method. However, since Standardization Approach needs some rare data and the evaluation is somewhat difficult, Trend Analysis and Regression Analysis may be used instead. Especially, Trend Analysis is a simple tool for the researcher in finding out the fertility change.-
dc.format.extent356038 bytes-
dc.format.extent340107 bytes-
dc.format.extent403763 bytes-
dc.format.extent753634 bytes-
dc.format.extent277447 bytes-
dc.format.extent438191 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถิติ -- การวิเคราะห์en
dc.subjectการวางแผนครอบครัวen
dc.titleผลกระทบของโครงการวางแผนครอบครัวที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์en
dc.title.alternativeThe impact of family planning program on fertilityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพาณิชยศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nahatai_Pe_front.pdf347.69 kBAdobe PDFView/Open
Nahatai_Pe_ch1.pdf332.14 kBAdobe PDFView/Open
Nahatai_Pe_ch2.pdf394.3 kBAdobe PDFView/Open
Nahatai_Pe_ch3.pdf735.97 kBAdobe PDFView/Open
Nahatai_Pe_ch4.pdf270.94 kBAdobe PDFView/Open
Nahatai_Pe_back.pdf427.92 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.