Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18035
Title: | Descriptors of insomnaia among persons with heart failure |
Other Titles: | อาการนอนไม่หลับในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว |
Authors: | Janya Chimluang |
Advisors: | Yupin Aungsuroch Chanokporn Jitpanya |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Nursing |
Advisor's Email: | Yupin.A@Chula.ac.th hchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th |
Subjects: | Heart failure -- Patients Insomnia |
Issue Date: | 2009 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This descriptive research was designed to explore the characteristics of insomnia in persons with heart failure and examine the relationships among the predisposing factors, the precipitating factors, the perpetuating factors and insomnia. Three hundred and forty heart failure patients, who were followed-up at heart clinic at 10 tertiary hospitals in Thailand, were selected by multi-stage random sampling. Data were collected during July 2009 – January 2010. Research instrument included demographic questionnaire, state-trait anxiety inventory questionnaire, Center for epidemiologic studies depression scale, dyspnea questionnaire, Berlin questionnaire, New York Heart Association functional classification, sleep hygiene awareness and practice scale, dysfunctional beliefs and attitudes about sleep and insomnia severity index. Data were analyzed by using descriptive statistic, Chi-square test, and logistic regression. The result of the study revealed that there were thirty-two percent of heart failure patients had insomnia. Twenty-three point eight percent had moderate insomnia and 8.2 % had severe insomnia. The most common type of insomnia was difficulty falling asleep and difficulty staying asleep. Correlated factors of insomnia including the predisposing factors: anxiety and depression, the precipitating factors: marital status, dyspnea, sleep disorder breathing and functional status, and the perpetuating factors: sleep hygiene and dysfunctional beliefs and attitudes about sleep. After using logistic regression analysis found that the predictive factors of insomnia were anxiety, depression, marital status, dyspnea, and dysfunctional beliefs and attitudes about sleep |
Other Abstract: | การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการนอนไม่หลับในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว และหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยโน้มนำ ปัจจัยกระตุ้น และปัจจัยคงอยู่กับอาการนอนไม่หลับ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว จำนวน 340 คนที่มารับการติดตามการรักษาที่คลินิกโรคหัวใจ ของโรงพยาบาลตติยภูมิ 10 แห่งของประเทศไทย ที่ถูกเลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน การศึกษานี้เก็บรวบรวมข้อมูล ในระหว่างเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ถึง เดือน มกราคม พ.ศ. 2553 เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความวิตกกังวล แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินอาการหายใจ ลำบาก แบบประเมินการหยุดหายใจในขณะนอนหลับ แบบสอบถามเกี่ยวกับความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม แบบประเมินความตระหนักในเรื่องสุขอนามัยของการนอนหลับและระดับการปฏิบัติ แบบประเมินความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการนอนหลับและแบบประเมินอาการนอนไม่หลับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัยพบว่า 32% ของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวมีอาการนอนไม่หลับ โดย 23.8% มีอาการนอนไม่หลับระดับปานกลาง และ 8.2% มีอาการนอนไม่หลับระดับรุนแรง ชนิดของอาการนอนไม่หลับที่พบมากคือ เริ่มต้นนอนหลับยาก และตื่นขึ้นมากลางดึกแล้ว ต้องใช้เวลานานจึงจะสามารถหลับใหม่ได้อีกครั้ง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการนอนไม่หลับ คือ ความวิตกกังวล ความซึมเศร้า สถานภาพสมรส อาการหายใจลำบาก การหยุดหายใจในขณะนอนหลับ ระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม สุขอนามัยในการนอนหลับ ความเชื่อและทัศนะคติที่ผิดเกี่ยวกับการนอนหลับ ส่วนปัจจัยที่สามารถทำนายอาการนอนไม่หลับได้คือ ความวิตกกังวล ความซึมเศร้า สถานภาพสมรส อาการหายใจลำบากและความเชื่อและทัศนคติที่ผิดเกี่ยวกับการนอน |
Description: | Thesis (Ph.D.(Nursing))-- Chulalongkorn University, 2009 |
Degree Name: | Doctor of Philosophy |
Degree Level: | Doctoral Degree |
Degree Discipline: | Nursing Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18035 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1836 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.1836 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Nurse - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
janya_ch.pdf | 1.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.