Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1804
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุดาศิริ วศวงศ์-
dc.contributor.authorอัญชลี เสรีรักษ์-
dc.contributor.authorกำจร นาคชื่น-
dc.contributor.authorชนินาฎ ณ เชียงใหม่-
dc.contributor.authorมาลี พูลคลองตัน-
dc.contributor.authorล่ำศักดิ์ ชวนิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.date.accessioned2006-08-15T11:58:16Z-
dc.date.available2006-08-15T11:58:16Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1804-
dc.description.abstractประเทศไทยได้นำแรงงานเด็กมาใช้เป็นระยะเวลานานมาแล้ว และได้มีการกำหนดกฎหมายขึ้นมาเพื่อให้ความคุ้มครองแก่แรงงานเด็กเป็นเวลาประมาณ 37 ปีเศษแล้ว นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งได้มีการพยายามปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานเด็กหลายครั้ง เพื่อให้การใช้แรงงานเด็กในประเทศไทยเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม แต่ปรากฏว่ากฎหมายคุ้มครองแรงงานเด็กก็ยังมีความบกพร่องอยู่ในหลายเรื่อง เช่น เรื่องเกี่ยวกับเกณฑ์อายุขั้นต่ำในการทำงานของเด็กที่กำหนดไว้ต่ำกว่าาหลักสากลและบางประเทศ กำหนดวัน เวลาทำงานที่กำหนดไว้เท่ากับของผู้ใหญ่ การตรวจสุขภาพร่างกายของเด็กก่อนที่จะเข้าทำงานและในขณะทำงานก็มิได้กำหนดไว้ในในกฎหมาย ฯลฯ ประกอบกับการบังคับใช้กฎหมายไม่ได้ผล เพราะปรากฏว่าแม้จะมีกฎหมายคุ้มครองแรงงานเด็กบังคับใช้เป็นพิเศษเป็นเวลานานเช่นนี้ ก็ยังคงปรากฏว่ามีการใช้แรงงานเด็กที่มีอายุต่ำว่าอายุข้นต่ำที่กฎหมายกำหนดไว้ ถูกให้ทำงานล่วงเวลา ทำงานในวันหยุดผิดจากกฎเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดไว้ ไม่เคยได้รับการดูแลตรวจสุขภาพร่างกายเลย ฯลฯ งานวิจัยเรื่องนี้มุ่งที่จะศึกษาถึงปัญหาข้อขัดข้องหรือความบกพร่องของบทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการใช้และคุ้มครองแรงงานเด็ก และการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่ได้ผล โดยการศึกษาวิเคราะห์กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานเด็กของประเทศไทย อนุศัญญาและข้อแนะขององค์การกรรมกรระหว่างประเทศ และประเทศอื่น ๆ ควงคู่ไปกับการสำรวจภาคสนามเกี่ยวกับสภาพการใช้และการคุ้มครองแรงงานเด็กในปัจจุบัน ประกอบกับความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวขั้องกับการใช้และการคุ้มครองแรงงานเด็ก คือ นายจ้าง ลูกจ้าง และพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง พร้อมทั้งเสนอเค้าโครงกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มคองแรงงานเด็กและมาตรการในการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการใช้และคุ้มครองแรงงานเด็กอย่างเหมาะสมถูกต้องและมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการแก้ไขปัญหาแรงงานเด็ก จะไม่ประสบผลสำเจ็จไปได้เลย ถ้าปราศจากเสียซึ่งการยอมรับจากทุกฝ่ายทุกระดับของบุคคลในสังคมที่จะร่วมมือกันอย่างจริงจังในการปกป้องแรงงานเด็ก ให้พ้นจากการกดขี่ ทารุณ และเอารัดเอาเปรียบในการใช้แรงงานและให้แรงงานเด็กได้รับการคุ้มครองอย่างเป็นธรรมen
dc.description.abstractalternativeHistorically. in Thailand children have been employed for a long period of time. The law to protect child labour has been issued and revised for over 37 years since 1956. Many attempts have been made to amend the law on protection of child labour so as to improve their working conditions. It appears, however, that the law on protection of child labour is still defective, for example, provisions on minimum age is set below the standard of the International Labour Organization (ILO) Convention, working days and hours are not restricted but laid down at the same level as of the adult, no specific provision on the medical examination before and after employment, Furthermore, the law is unable to be fully enforced. Child labour under the age prescribed has still existed and they have not received due wages, overtime and holiday pay according to the law. They are exploited to work hard in violation of the law, needless to say, without taken care of their health. This research is intended to study machinery of thelaw on child labour protection, defectiveness of the provisions and ineffectiveness of the law enforcement. Taken into account, other countries legislation and ILO Conventions and Recommendations concerned, the field survey has been conducted to obtain the facts of existing employment of child labour, together with comments of persons involved, i.e. employers, employees and officers in charge. Then, to propose the revision of labour law on protection of child labour, coupled with suitable and efficient measures to give effect to the enforecment. The proetction of child labour employment, it may be concluded, woyld not succeed provided that people from all works of life realize its significance and cooperate to improve surveillance of child labour abuses and encourage the fair protection of children.en
dc.format.extent34527894 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายแรงงานen
dc.subjectเด็ก--การจ้างงานen
dc.subjectแรงงานเด็กen
dc.titleแนวทางการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานเด็กen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorSudasiri.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sudasiri.pdf20.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.