Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorชนินันท์ ศรีธีระวิศาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-20T15:06:37Z-
dc.date.available2012-03-20T15:06:37Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18273-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractการลงโทษผู้กระทำผิดอาญา เป็นอำนาจการลงโทษของรัฐ ตามหลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ที่ทุกคนในรัฐมอบอำนาจนี้ให้แก่รัฐ ซึ่งพิจารณาลงโทษแก่ผู้กระทำผิดตามกฎเกณฑ์ในการกำหนดโทษ และวัตถุประสงค์ของการลงโทษ ประเภทของโทษทางอาญามีอยู่หลายประเภท ทั้งในสมัยโบราณและในสมัยปัจจุบัน แต่การลงโทษที่ถือว่ารุนแรงที่สุด คือโทษประหารชีวิต นับว่าเป็นปัญหาทางนโยบายทางอาญาที่สำคัญ ว่าจะให้คงใช้ซึ่งโทษประหารชีวิตหรือยกเลิกเสียทั้งนี้ เพราะโทษประหารชีวิตมีทั้งข้อดีและข้อเสีย กล่าวโดยย่อ ข้อดีมีผู้กล่าวว่าเป็นการยับยั้งอาชญากรรมในสังคม คือเป็นการกำจัดบุคคลที่สังคมไม่พึงปรารถนาไปเสียอย่างเด็ดขาด ตัดโอกาสไม่ให้ผู้นั้นก่อกวนความสงบ หรือทำความเดือดร้อนให้แก่สังคมได้อีก แต่ข้อเสีย คือเป็นการเสี่ยงต่อการประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์ถ้าหากเกิดการผิดพลาดขึ้นในขบวนการยุติธรรมในทางอาญา ซึ่งไม่มีโอกาสจะแก้ไขได้เลย ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ยังใช้การลงโทษประหารชีวิตนี้ ลงโทษผู้กระทำผิดรุนแรง จึงเห็นว่าควรจะศึกษาถึงทัศนคติของประชาชนทั่วไปว่า ยังมีความต้องการให้คงไว้ซึ่งโทษประหารชีวิต หรือให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตเสีย อย่างไรก็ตาม ผลของการสำรวจทัศนคติของประชาชนปรากฏว่า ประชาชนโดยทั่วไปถึงร้อยละ 69 ยังคงให้การสนับสนุนโทษประหารชีวิตอยู่ สำหรับในความคิดของผู้เขียนต้องการให้ยกเลิกโทษประหารชีวิต โดยใช้วิธีการหลีกเหลี่ยงโทษประหารชีวิต หาวิธีการลงโทษอย่างอื่นแทน ซึ่งวิธีการลงโทษดังกล่าวจะมีวัตถุประสงค์ของการลงโทษ เช่นเดียวกับการลงโทษประหารชีวิตนั้น คือวิธีการลงโทษจำคุกตลอดชีวิต หรือระยะยาว หรือโดยใช้วิธีการทางแพทย์ช่วยเพื่อจะได้สงวนไว้ซึ่งมนุษยชาติ นำความเป็นมนุษย์ของผู้ต้องโทษมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติเองจะดีกว่า-
dc.description.abstractalternativeTo maintain law and order in any society However free, a system of rules and punishment is necessary. So it can be said that Punishment is the unpleasant consequence which the penal law prescribes for socially undesired human conduct. The Punishment varies according to the degree of transoression and its object are two-fold-to prevent a repetition of the offence and to phush the offender, if he is considered fully responsible to his crime. But the most severe punishment is capital punishment which cannot be defended as a means of correction in some countries. Among various countries that have capital punishment as measure of correction. Thailand is the one This thesis will notifie about The Public Opinion of Thai People on Capital Punishment and search for the appropriated measures from it.-
dc.format.extent387957 bytes-
dc.format.extent461385 bytes-
dc.format.extent893834 bytes-
dc.format.extent1429204 bytes-
dc.format.extent690159 bytes-
dc.format.extent376075 bytes-
dc.format.extent350434 bytes-
dc.format.extent383221 bytes-
dc.format.extent385414 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมายอาญา -- โทษประหารen
dc.subjectทัณฑกรรมen
dc.titleการลงโทษประหารชีวิตen
dc.title.alternativeCapital punishmenten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chaninan_Sr_front.pdf378.86 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch1.pdf450.57 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch2.pdf872.88 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch3.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch4.pdf673.98 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch5.pdf367.26 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch6.pdf342.22 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_ch7.pdf374.24 kBAdobe PDFView/Open
Chaninan_Sr_back.pdf376.38 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.