Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18279
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโยธิน ศันสนยุทธ-
dc.contributor.authorฉันทนา จินตโกวิท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-20T15:16:47Z-
dc.date.available2012-03-20T15:16:47Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18279-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาตัวทำนายที่ดี ซึ่งสามารถพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ความถนัดทางการเรียน ทัศนคติในการเรียน นิสัยในการเรียน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเดิม ตัวแปรเกณฑ์ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉพาะกลุ่มวิชาเลือก กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ที่ศึกษาต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ณ โรงเรียนเดิมในโปรแกรมวิทย์-คณิต และโปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส จากโรงเรียน 3 ประเภทคือ โรงเรียนหญิง โรงเรียนชาย และโรงเรียนสหศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 339 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปลเป็นชั้นๆ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่อใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวม เป็นตัวแปรเกณฑ์ พบว่า 1) โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนหญิง ตัวทำนายได้ดีได้แก่ คะแนนหมวดวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนตัวแปรเกณฑ์ได้ร้อยละ 64 (R = .80) 2. โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนชาย ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และคะแนนจากแบบสอบความถนัดชุดซ่อนภาพ ซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 51 (R= .71) 3) โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนสหศึกษา ตัวกำหนดที่ดีได้แก่ คะแนนรวมระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ได้ร้อยละ 42 (R = .84) 4) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนหญิง ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ได้ร้อยละ 72 (R = .84) 5) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนชาย ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนหมวดวิชาภาษาอังกฤษ วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษา และคะแนนจากแบบสอบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ได้ร้อยละ 88 (R = .94) 6) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนสหศึกษา ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนรวมระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และคะแนนหมวดวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 81 (R = .90) 2. เมื่อใช้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เฉพาะกลุ่มวิชาเลือก ตามโปรแกรมการเรียน เป็นตัวแปรเกณฑ์ พบว่า 1) โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนหญิง ตัวทำนายที่ได้แก่ คะแนนหมวด วิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 55 (R = .74) 2) โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนชาย ตัวทำนายที่ดีได้แก่หมวดวิชาคณิตศาสตร์ และคะแนนจากแบบสอบความถนัดชุดซ่อนภาพ ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 45 (R = .67) 3) โปรแกรมวิทย์-คณิต ประเภทโรงเรียนสหศึกษา ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนหมวดวิชาคณิตศาสตร์ คะแนนจากแบบสอบถามความถนัดชุดซ่อนภาพ และคะแนนจากหมวดวิชาสังคมศึกษาซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 52 (R = .72) 4) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนหญิง ตัวทำนายที่ดีได้แก่ คะแนนหมวดวิชาอังกฤษ คะแนนจากแบบสำรวจทัศนคติในการเรียน และคะแนนจากแบบสำรวจนิสัยในการเรียน และคะแนนจากแบบสอบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 83 (R = .91) 5) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนชาย ตัวทำนายที่ดี ได้แก่ คะแนนหมวดวิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งร่วมกันอธิบายความแปรปรวนตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 66 (R = .81) 6) โปรแกรมศิลปะ-ภาษาฝรั่งเศส ประเภทโรงเรียนสหศึกษา ตัวทำนายที่ดีได้แก่คะแนนหมวดวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรเกณฑ์ ได้ร้อยละ 70 (R = .83)-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to look for good predictors which could predict Academic Achievement of Mathayom Suksa Four Level. The predictive variables studied were scholastic aptitude, study attitude, study habits, achievement motivation and the academic achievement scores of Mathayom Suksa Three. The criterion variables were the total academic achievement scores and the academic achievement scores of the elective subjects of Mathayom Suksa Four. The subjects were 339 students of Mathayom Suksa Three who continued their studies in Mathayom Suksa Four at the same school on the Science-Mathematics Program and on the Arts - French Program from 3 types of schools: male, female, and co-education. Data were analyzed by means of Multiple Regression (Forward Inclusion). 1. When the total academic achievement scores was used as the criterion variable, it was found that. 1) Science - Mathematics Program, Female school: The good predictive variables were Mathematics and English which could explain 64 percent of variance in the criterion variable (R = .80). 2) Science - Mathematics Program, Male school : The good predictive variables were the total scores of Mathayom Suksa Three and scholastic aptitude (picture) which could explain 51 percent of variance in the criterion variable (R = .71). 3) Science - Mathematics Program, Co-education school : The good predictive variable was the total scores of Mathayom Suksa Three which could explain 42 percent of variance in the criterion variable (R = .65). 4) Arts - French Program, Female school : The good predictive variable was the total scores of Mathayom Suksa Three which could explain 72 percent of variance in the criterion variable (P = .84). 5) Arts - French Program, Male school : The good predictive variables were English, Thai, Social studies and achievement motivation which could explain 88 percent of variance in the criterion variable (R = .94). 6) Arts - French Program, Co-education schools : The good predictive variables were the total scores of Mathayom Suksa Three and English which could explain 81 percent of variance in the criterion variable (R = .90). 2. When the total academic achievement scores of the elective subjects was used as the criterion variable, it was found that. 1) Science - Mathematics Program, Female school : The good predictive variables was Mathematics which could explain 55 percent of variance in the criterion variable (R = .74). 2) Science - Mathematics Program, Male school : The good predictive variables were Mathematics and scholastic aptitude (picture) which could explain 45 percent of variance in the criterion variable (R = .67). 3) Science - Mathematics Program, Co-education school : The good predictive variables were Mathematics, scholastic aptitude (picture) and Social studies which could explain 52 percent of variance in the criterion variable (R = .72). 4) Arts - French Program, Female school : The good predictive variables were English, study attitude, study habits and achievement motivation which could explain 83 percent of variance in the criterion variable (R = .91). 5) Arts - French Program, Male school : The good predictive variables were Thai and English which could explain 66 percent of variance in the criterion variable (R = .81). 6) Arts - French Program, Co-education school : The good predictive variables was English which could explain 70 percent of variance in the criterion variable (R = .83).-
dc.format.extent575761 bytes-
dc.format.extent1093862 bytes-
dc.format.extent455972 bytes-
dc.format.extent1584397 bytes-
dc.format.extent307914 bytes-
dc.format.extent366672 bytes-
dc.format.extent735956 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจิตวิทยาการศึกษาen
dc.titleการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA prediction on academic achievement of mathayom suksa four level in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chantana_Ch_front.pdf562.27 kBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_ch1.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_ch2.pdf445.29 kBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_ch3.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_ch4.pdf300.7 kBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_ch5.pdf358.08 kBAdobe PDFView/Open
Chantana_Ch_back.pdf718.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.