Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorยศรวีร์ กีรติภควัต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-21-
dc.date.available2012-03-21-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18309-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรมการดูแลของมารดาในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคปอดอักเสบในบุตรปฐมวัย โดยใช้แนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) กลุ่มตัวอย่างคือ มารดาที่มีบุตรปฐมวัยป่วยด้วยโรคปอดอักเสบ ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลตำรวจ แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน โดยจับคู่ให้มีความคล้ายคลึงกันในด้านอายุ ระดับการศึกษา กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ซึ่งประกอบด้วยการดำเนินกิจกรรมดังนี้ คือ 1) การสร้างสัมพันธภาพ และเตรียมความพร้อมของมารดา 2) การให้ความรู้ 3) การกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่เหมาะสม 4) การให้มารดาฝึกปฏิบัติทักษะที่จำเป็น 5) กิจกรรมการติดตามเยี่ยมมารดา โดยมีสื่อวีดิทัศน์ และคู่มือสำหรับมารดา เป็นสื่อในการดำเนินกิจกรรม ซึ่งได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาก่อนนำไปทดลองใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลองคือ แบบประเมินการรับรู้สมรรถนะแห่งตน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของมารดาและบุตร และแบบประเมินพฤติกรรมการดูแลของมารดาในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคปอดอักเสบ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติการทดสอบที (Independent t- test) ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการดูแลของมารดาในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคปอดอักเสบในบุตรปฐมวัย ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การพาลูกไปฉีดวัคซีนตามกำหนด และพฤติกรรมมารดาที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research were to investigate maternal caring behavior to prevent recurrent pneumonia and examine the effect of perceived self-efficacy promoting program on maternal caring behavior to prevent recurrent pneumonia in toddler. The perceived self-efficacy theory (Bandura, 1997). The participans were mothers of toddler with pneumonia. Subjects were assigned to control group first,then experimental group, 20 per each. Groups were matched by age and educational level. The experimental group received the perceived self-efficacy promoting program,and the control group received routine nursing care. The intervention developed by a researcher consisted of 5 steps: 1) rapport building and prepare mother 2) health education providing 3) enhancing appropriate behavior 4) repeat skill practice 5) follow up. Materials used in the program included handbook and vcd developed by researcher. The intervention was reviewed for content validity by a panel of experts. Perceived self-efficacy was measured to monitor intervention effect. Its Cronbach's alpha coefficient was .85. The maternal caring behaviors questionnaire was used to collect the data. It demonstrated acceptable reliability with Cronbach's alpha was .87. Data were analyzed using descriptive statistics and dependent t-test. Major findings were as follows : maternal caring behavior to prevent recurrent pneumonia in toddler with the hightest score was “bringing children for vaccination as schedule”. Maternal caring behavior to prevent recurrent pneumonia in the experimental group participating the perceived self-efficacy promoting program was significantly higher than those of the control group (p<.05).en
dc.format.extent17003097 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความสามารถในตนเอง-
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก-
dc.subjectปอดอักเสบในเด็ก-
dc.subjectSelf-efficacy-
dc.subjectChild development-
dc.subjectPneumonia in children-
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการดูแลของมารดา ในการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรคปอดอักเสบในบุตรปฐมวัยen
dc.title.alternativeThe effect of perceived self-efficacy promoting program on maternal caring behavior to prevent recurrent pneumonia in toddleren
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPranom.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yosrawee_ke.pdf16.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.