Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริเดช สุชีวะ-
dc.contributor.authorปรารถนา พลอภิชาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2012-03-21T15:36:46Z-
dc.date.available2012-03-21T15:36:46Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18360-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 4 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาระดับความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 6 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียนมัธยม ศึกษาปีที่ 6 โดยจำแนกตามภูมิหลัง 3) เพื่อสร้างโมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 6 และ 4) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบ อาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 900 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลลิสเรล ผลการวิจัยที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีระดับความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพอยู่ในระดับสูง 2) ค่าเฉลี่ยของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียนแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ เมื่อจำแนกตามภูมิหลังได้แก่ ตัวแปรสังกัดของโรงเรียน แผนการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม อาชีพของบิดา และรายได้ของบิดามารดา 3) โมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพประกอบด้วยตัวแปรที่ส่ง ผลต่อความลังเลใจ 5 ตัวแปร คือ การรับรู้ความสามารถของตนเอง ความวิตกกังวลในการเลือกอาชีพ อิทธิพลภายนอกที่ส่งผลต่อการเลือกอาชีพ การไม่เห็นคุณค่าของอาชีพ และความไม่เพียงพอของข้อมูล 4) โมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพมีความสอดคล้องกลมกลืน กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์เท่ากับ 30.326 องศาอิสระเท่ากับ 31 มีค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.501 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนเท่ากับ 0.996 และค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้วเท่ากับ 0.982 ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพ ได้ ร้อยละ 95.1 5) ความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพได้รับอิทธิพลทางตรงจากปัจจัยด้านการไม่ เห็นคุณค่าของอาชีพ และการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลือกอาชีพ และความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากปัจจัยด้าน อิทธิพลภายนอกที่ส่งผลต่อการเลือกอาชีพ โดยส่งผ่านปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตนเองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study the level of career indecision of the twelfth grade students 2) to compare the level of career indecision of the twelfth grade students using background separating 3) to create the causal model of career indecision of the twelfth grade students 4) to examine the goodness of fit of the casual model of career indecision to the empirical data. The research participants were 900 twelfth grade students in Bangkok. The questionnaires of this survey were used for collecting the research data. The analytical methods of this research consisted of descriptive statistical analysis, One-Way ANOVA, Pearson correlation analysis and LISREL model analysis. The research findings were as follows: 1) The Career indecision of the twelfth grade students were high. 2) The average of the career indecision that was categorized by under, major, GPAX, father’s career and parent’s salary had been significantly differenced. 3) The LISREL model of career indecision consisted of 6 groups of variables that had effected on the career indecision. There were self-efficacy factor, anxiety factor, environment factor, devaluation factor and insufficient information factor. 4) The causal model of career indecision of high school students was fit to the empirical data having Chi-square = 30.326 with df = 31, p-value = 0.501, GFI = 0.996 and AGFI = 0.982 The variables in the model explained 95.1% of variance of career indecision. 5) The career indecision had been directly affected by devaluation factor and self-efficacy factor significantly and it had been indirectly affected by environment factor which significantly transferred self-efficacy factor.en
dc.format.extent3021206 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleโมเดลเชิงสาเหตุของความลังเลใจในการเลือกประกอบอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA causal model of career indecision of twelfth grade students in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiridej.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prathana_ph.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.