Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorรณชัย ไม้สนธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-22T15:39:45Z-
dc.date.available2012-03-22T15:39:45Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18400-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractลดจำนวนของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และหาแนวทางในการแก้ไขและป้องกันข้อบกพร่องผลิตภัณฑ์ ไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่เกิดขึ้นในกระบวนการอบยาง โดยของเสียที่พบในกระบวนการอบยาง ได้แก่ ขอบยางเสียรูป คราบน้ำ รูยางอุดตัน ถุงลมขึ้นรูปแตก ถุงลมขึ้นรูปพับ ยางฟีบ ริมหนีบ และสิ่งแปลกปลอมติดยาง โดยงานวิจัยนี้เริ่มจากการศึกษากระบวนการอบยางและของเสียที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นจึงระดมสมองเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อข้อบกพร่องโดยใช้แผนผังก้างปลา และใช้เทคนิคการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบสำหรับกระบวนการผลิต (PFMEA) และให้ทีมผู้เชี่ยวชาญในแผนกอบยางมาวิเคราะห์เพื่อประเมินความรุนแรง ค่าโอกาสในการเกิดข้อบกพร่อง และค่าความสามารถในการตรวจจับข้อบกพร่อง เพื่อนำไปคำนวณค่าความเสี่ยง (RPN) และได้ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องที่มีค่า RPN ตั้งแต่ 100 คะแนนขึ้นไป โดยประโยชน์ที่ได้จากงานวิจัยนี้คือ สามารถลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการอบยางได้ตามเป้าหมายที่กำหนด และสามารถใช้งานวิจัยนี้เป็นแนวทางประยุกต์ใช้เทคนิค FMEA ในกระบวนการผลิตอื่นอีกด้วย ผลการดำเนินการแก้ไขปรับปรุงพบว่า กระบวนการอบยางมีของเสียก่อนการปรับปรุง RPN มากกว่า 100 เท่ากับ 12 ตัว หลังการปรับปรุง RPN มากกว่า 100 เท่ากับ 5 ตัว เปอร์เซนต์ของเสียก่อนการปรับปรุงเท่ากับ 2.88% และหลังการปรับปรุงเท่ากับ 1.29%en
dc.description.abstractalternativeTo reduce the defect in curing process following to the target and to seek for the method to improve and prevent the defect. The type of defect that were bead transform, water, spew plug, bladder split, bladder crease, late PCI, PCI rim cut and foreign material. This thesis started from studying the process and defect of curing process then brainstorming to look for the cause that effect to the defects by using cause and effect diagram and process failure mode and effect analysis (PFMEA). After that, the specialists in curing section analyze to evaluate the severity, occurrence and detection to calculate the risk priority number (RPN). This thesis improves the defect that have RPN value more than 100. The result of improvement can be shown as below : The RPN of defect over than 100 was 12 and after improvement RPN of defect over than 100 was 5 and defect percentage of curing process before improvement was 2.88% and after improvement was 1.29%en
dc.format.extent28132246 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่า-
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถ-
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิต-
dc.subjectการควบคุมคุณภาพ-
dc.subjectLoss control-
dc.subjectTire industry-
dc.subjectProcess control-
dc.subjectQuality control-
dc.titleการลดของเสียจากการอบยางในกระบวนการผลิตยางรถยนต์โดยใช้เทคนิค FMEAen
dc.title.alternativeDefect reduction in curing process of tire manufacturing using FMEA techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ronnachai_ma.pdf27.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.