Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18432
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorนพมาศ พัวพิสิฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-22T23:11:41Z-
dc.date.available2012-03-22T23:11:41Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745667137-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18432-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังของนักเรียนและครู สมรรถภาพทางการสอน สภาพแวดล้อมในโรงเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาการงานและพื้นฐานอาชีพ ของนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตการศึกษา 6 โดยใช้กลุ่มตัวอย่างนักเรียน 400 คน กลุ่มตัวอย่างครู 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมี 4 ชนิด คือ (1) แบบสอบถามภูมิหลังของนักเรียนและแบบสอบถามสมรรถภาพทางการสอนของครู (2) แบบสอบถามภูมิหลังของครูและแบบสอบถามความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน (3) แบบประเมินพฤติกรรมการสอนของครู และ(4) แบบสังเกตสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและแบบประเมินสภาพแวดล้อมในห้องเรียน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ค่าสัมประสิทธิ์ ω2 และหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างตัวทำนายกับตัวเกณฑ์ ข้อค้นพบที่สำคัญโดยสรุปมีดังนี้ 1. อาชีพมารดามีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. อายุ ประสบการณ์ในการสอน จำนวนปีที่สอนวิชาการงานและพื้นฐานอาชีพของครู มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. สมรรถภาพทางการสอนของครู ไม่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. ความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ขนาดโรงเรียน อัตราส่วนครูต่อนักเรียน และสภาพแวดล้อมในห้องเรียน มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5. ตัวแปรทำนายที่สำคัญของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมี 3 ตัวแปร คือ สภาพแวดล้อมในห้องเรียน อาชีพมารดา และเพศของนักเรียน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the relationships between students' background, teachers' background, teaching effectiveness and vocation-oriented education learning achievement of Mathayom Suksa six students. The samples were 400 students and 27 teachers. The four instruments used in their research were (1) a students' background and teaching effectiveness questionnaire (2) a teachers' background and academy leadership of school administrator questionnaire (3) teaching effectiveness observation form and (4) school context and classroom context observation form. The collected data were analyzed by using t-test and multiple regression analysis techniques. Findings: 1. There was significant correlation between mothers' occupation and vocation-oriented education learning achievement. 2. There were significant correlations between age, teaching experience and number years teaching in vocation-oriented subjects of teachers and vocation-oriented education learning achievement. 3. There was no significant correlation between teaching effectiveness and vocation-oriented education learning achievement. 4. There were significant correlations between academic leadership of school administrator, school size, ratio of teacher per student, classroom context and vocation-oriented education learning achievement. 5. The important predictors found in this research were classroom context, mothers' occupation and sex of student.-
dc.format.extent336340 bytes-
dc.format.extent368327 bytes-
dc.format.extent471838 bytes-
dc.format.extent356446 bytes-
dc.format.extent425521 bytes-
dc.format.extent419644 bytes-
dc.format.extent595626 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมen
dc.subjectกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectครู -- สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภูมิหลังของนักเรียนและครู สมรรถภาพทางการสอน สภาพแวดล้อมในโรงเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาการงาน และพื้นฐานอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6en
dc.title.alternativeRelationship between students' background, teachers' background, teaching effectiveness and school environment and vocation-oriented education learning achievement of mathayomsuksa six studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwatana.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Noppamas_Pu_front.pdf328.46 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_ch1.pdf359.69 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_ch2.pdf460.78 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_ch3.pdf348.09 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_ch4.pdf415.55 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_ch5.pdf409.81 kBAdobe PDFView/Open
Noppamas_Pu_back.pdf581.67 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.