Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18456
Title: | การวิเคราะห์ขนาดของข้อศอกจากภาพเอกซ์เรย์ |
Other Titles: | Radiographic analysis of elbow size |
Authors: | สิทธิโชค สุขเจริญยิ่งยง |
Advisors: | ประกิต เทียนบุญ ไพรัช ตั้งพรประเสริฐ ชัญญาพันธ์ วิรุฬห์ศรี |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Prakit.Ti@Chula.ac.th Pairat.T@Chula.ac.th Juksanee.V@chula.ac.th |
Subjects: | การบันทึกภาพด้วยรังสี ข้อศอก Radiography Elbow |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ความเป็นมา: ภาวะข้อศอกเทียมหลวมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยจากการผ่าตัดเปลี่ยนข้อศอก และทาให้ผลการผ่าตัดไม่เป็นที่น่าพอใจ ถึงแม้ว่าสาเหตุของภาวะข้อศอกเทียมหลวมจะมีมากแต่สาเหตุสาคัญคือ การเกิดจากการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติที่บริเวณผิวสัมผัสของกระดูกผู้ป่วยกับโลหะของข้อศอกเทียม ดังนั้นถ้าเลือกข้อศอกเทียมที่มีขนาดเล็กกว่าข้อศอกผู้ป่วยมาก จะทาให้มีซีเมนต์ที่ยึดระหว่างกระดูกผู้ป่วยและข้อศอกเทียมมีขนาดหนาทาให้ซีเมนต์รับแรงมาก ทาให้สึกกร่อนเร็ว และเกิดภาวะข้อศอกเทียมหลวมตามมา จุดประสงค์: เพื่อศึกษาขนาดของส่วนปลายกระดูกต้นแขน และส่วนต้นกระดูกปลายแขนทั้งด้านความกว้างและความลึก ตาแหน่งของแกนในการงอเหยียดข้อศอก และความเหมาะสมด้านขนาดของข้อศอกคนกับข้อศอกเทียม วิธีการศึกษา: โดยศึกษาในศพตัวอย่าง 30 ตัวอย่าง วัดความกว้าง และความลึกของโพรงกระดูกต้นแขน และกระดูกปลายแขนที่ระดับต่างๆห่างจากข้อศอก เพื่อเปรียบเทียบกับขนาดของข้อศอกเทียมที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ยังวัดหาความสัมพันธ์ของแกนกลางของกระดูกต้นแขนกับแกนหมุนในการงอเหยียดข้อศอก และแกนกลางของกระดูกต้นแขนกับกระดูกปลายแขน ผลการศึกษา: ขนาดของกระดูกในผู้ชายมีขนาดใหญ่กว่าผู้หญิงอย่างมีนัยสาคัญที่บริเวณใกล้ๆ ข้อ เมื่อเปรียบเทียบกับข้อศอกเทียมพบว่าขนาดของกระดูกตัวอย่างมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับขนาดของข้อศอกเทียม ยกเว้นขนาดกระดูกปลายแขนของผู้หญิงที่มีขนาดใกล้เคียงกับข้อศอกเทียม แกนในการงอเหยียดข้อศอกทามุมกันแกนของกระดูกต้นแขนเป็น 86.0±3.7° สรุป: ควรมีการปรับปรุงด้านขนาดของข้อศอกเทียมให้ใหญ่ขึ้นเพื่อให้ใกล้เคียงกับขนาดโพรงของกระดูกจริงของคน |
Other Abstract: | Background: Aseptic loosening is a serious complication in total elbow arthroplasty. Its etiologies are multifactorial. The mechanical failure is a major etiology of loosening that occur from the micromotion between bone and cement interfaces. We attend to study on the inappropriate size between elbow prosthesis and patient’s elbow. If elbow prosthesis is too small, its stress is high in later. Then, mechanical failure and aseptic loosening are occurred. Objective : To study the distal humeral, proximal ulnar medullary canal diameters and the location of flexion-extension axis, and compare the elbow sizes in cadavers with elbow prostheses. Method: We studied 30 cadaveric elbows (16 males and 14 females) in distal humeral and proximal ulnar medullary canal diameters. These parameters were compared with commercial elbow prostheses. The flexion-extension axis and the carry angle were also demonstrated. Result: Distal humeral and proximal ulnar medullary canal diameters were significantly larger in male than female in periarticular area. The angle between the flexion-extension axis and the medullary canal axis of the humerus was 86.0±3.7°. Except the ulna in female, distal humerus and proximal ulna in male were larger than elbow prostheses Conclusion: The diameters of elbow prostheses should be improved to more appropriate to human’s elbows. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมชีวเวช |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18456 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.284 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.284 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sittichoke_su.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.