Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช-
dc.contributor.authorจันทร์พร วงศ์สถิรยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-24T04:56:14Z-
dc.date.available2012-03-24T04:56:14Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745638897-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18514-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2527en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. หาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับองค์ประกอบคัดสรรที่เป็นลักษณะของนักเรียน ซึ่งได้แก่ ความสนใจทางวิทยาศาสตร์ ทัศนคติที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และนิสัยในการเรียน 2. สร้างสมการในการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้องค์ประกอบคัดสรรที่เป็นลักษณะของนักเรียนในด้านความสนใจทางวิทยาศาสตร์ทัศนคติที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และนิสัยในการเรียนเป็นตัวทำนาย ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2526 จำนวน 429 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จากโรงเรียนมัธยมศึกษา ชาย หญิง และสหศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบทดสอบความสนใจทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบทัศนคติที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ แบบสำรวจนิสัยในการเรียน และแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์แล้วนำผลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยโดยวิธีเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นๆ (Stepwise Multiple Regression Analysis) แบบฟอร์เวอร์ด อินคลูชัน (Forward Inclusion) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสนใจทางวิทยาศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. ทัศนคติที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.1 3. นิสัยในการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันทางบวกมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ความสนใจทางวิทยาศาสตร์ ทัศนคติที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และนิสัยในการเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถร่วมกันทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีสมการทำนายในรูปคะแนนดิบและในรูปคะแนนมาตรฐาน เป็นดังนี้ Yc = 8.336544 + 0.03947326X3 - 0.01238921X2 - 0.00161598X1 Zc = 0.21487Z3 – 0.02540Z2 – 0.009782Z1 5. ตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ดี คือ นิสัยในการเรียนโดยสมการในรูปคะแนนดิบและในรูปคะแนนมาตรฐานเป็นดังนี้ Yc = 7.610065 + 0.03691402X3 Zc = 0.20094Z3-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1.To find the relationship between science learning achievement of mathayom suksa three students and their selected characteristic factors: science interest, attitudes toward science and study habit. 2.To construct the multiple regression equation in order to predict science learning achievement of mathayom suksa three students by using their selected characteristic factors which were science interest, attitudes toward science and study habit as the predictors. The samples were 429 mathayom suksa three students in the academic year of 1983. They were stratified random sampled from boy, girl and co-education secondary schools in Bangkok Metropolis. The research instruments were science interest inventory, attitudes toward science inventory, study habit inventory and science learning achievement test. The obtained data were analyzed by means of stepwise multiple regression analysis: forward inclusion. The results of this research were as follows: 1.There were no significant correlation between science interest and science learning achievement at the .01 level. 2.There were no significant correlation between attitudes toward science and science learning achievement at the 0.1 level. 3.There were significant positive correlation between study habit and science learning achievement at the .01 level. 4.There were significant positive multiple correlation among science interest, attitudes toward science, study habit and science learning achievement at the .01 level. Science learning achievement was predicted by science interest, attitudes toward science and study habit at the .01 level of significance. The regression equation in raw scores and standard scores were as follows: Yc = 8.336544 + 0.03947326X3 - 0.01238921X2 - 0.00161598X1 Zc = 0.21487Z3 – 0.02540Z2 – 0.009782Z1 1.The best predictor of science learning achievement was the study habit which the regression equation in raw scores and standard scores were as follows: Yc = 7.610065 + 0.03691402X3 Zc = 0.20094Z3-
dc.format.extent341891 bytes-
dc.format.extent296937 bytes-
dc.format.extent623787 bytes-
dc.format.extent346837 bytes-
dc.format.extent321756 bytes-
dc.format.extent380513 bytes-
dc.format.extent521769 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การวัดผลen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.titleการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยองค์ประกอบคัดสรรที่เป็นลักษณะของนักเรียนen
dc.title.alternativeThe prediction of students' science learning achievement by their selected characteristic factorsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChanpen.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanphorn_Wo_front.pdf333.88 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_ch1.pdf289.98 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_ch2.pdf609.17 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_ch3.pdf338.71 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_ch4.pdf314.21 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_ch5.pdf371.59 kBAdobe PDFView/Open
Chanphorn_Wo_back.pdf509.54 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.