Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18575
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Nijsiri Ruangrungsi | - |
dc.contributor.advisor | Sanya Hokputsa | - |
dc.contributor.author | Chanida Palanuvej | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Graduate School | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-24T07:42:05Z | - |
dc.date.available | 2012-03-24T07:42:05Z | - |
dc.date.issued | 2009 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18575 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn Unversirty, 2009 | en |
dc.description.abstract | As a continuous searching for anti-diabetic (type II) potential substances, seven mucilaginous polysaccharides from selected plants were studied as follow: aerial parts of Basella alba Linn., fruits of Hibiscus esculentus Linn., leaves of Litsea glutinosa (Lour.) C.B. Robinson, seeds of Ocimum canum Sims., seeds of Plantago ovata Forssk., fruits of Scaphium scaphigerum G. Don. and seeds of Trigonella foenum-graecum Linn. The bioactive properties for entrapping glucose against dialysis, inhibiting enzyme α-glucosidase, pancreatic lipase, disturbance on micellar lipids solubilization and free radical scavenger were in vitro studied compared to glucomannan. The physical characteristics for swelling properties, viscosity and average molecular weight were determined. The chemical characteristics were analyzed for monosaccharide composition using gas chromatography after methanolysis and TMS-derivatization. B. alba mucilage was further investigated by 1H NMR spectroscopy. O. canum mucilage superiorly entrapped glucose compared to glucomannan. This activity was relevant to its highly viscous gelation. S. scaphigerum showed another property of α-glucosidase inhibition. Its mucilage (0.5%) inhibited the enzyme activity by 82.6%, compared to 1-Deoxynorjirimycin (by 47.6%). The IC₅₀ of α-glucosidase inhibitory activity was found as 1.7 mg/ml. Mucilages from O. canum and T. foenum-graecum as well as glucomannan showed around 20% inhibition on cholesterol solubility in bile acid micelles. All mucilages decreased oleic acid micellar solubilization whilst most of them increased stearic acid micellar solubilization. The studied mucilages had no effect on the lipase activity but affected on the micellar interface. Most mucilages, except from O. canum and P. ovata, showed DPPH scavenging activity higher than glucomannan. Especially L. glutinosa, S. scaphigerum and H. esculentus mucilages had IC₅₀ less than 1 mg/ml. Galacturonic acid was found in 3 from 7 mucilages namely B. alba, P. ovata and S. scaphigerum. Whereas rhamnose was common sugar found in all seven mucilages. Monosaccharide components of these mucilages were compared to another reports from distinguished techniques B. alba mucilage was revealed to be β-galactan with the composition of arabinose (24%), rhamnose (5%), galactose (41%), galacturonic acid (13%) and glucose (16%) | en |
dc.description.abstractalternative | ศึกษาศักยภาพในการต้านเบาหวานชนิดที่ 2 ในหลอดทดลองของโพลีแซกคาไรด์ชนิดสารเมือก โดยสกัดสารเมือกจากผักปลัง (ส่วนเหนือดิน) กระเจี๊ยบเขียว (ผล) หมี่หรือหมีเหม็น (ใบ) แมงลัก (เมล็ด) เทียนเกล็ดหอย (เมล็ด) สำรอง (ผล) และลูกซัด (เมล็ด) เปรียบเทียบคุณสมบัติในการกักเก็บน้ำตาลในถุงไดอะไลซิส การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสและไลเปส การรบกวนการละลายของไขมันในไมเซลล์ รวมทั้งการต้านอนุมูลอิสระ โดยเปรียบเทียบคุณสมบัติดังกล่าวของสารเมือกที่ศึกษากับกลูโคแมนแนน นอกจากนี้ได้ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของ สารเมือก ได้แก่ การพองตัว ความหนืด น้ำหนักโมเลกุลโดยเฉลี่ย และศึกษาคุณสมบัติทางเคมีโดยวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของโมโนแซกคาไรด์ที่เป็นองค์ประกอบโดยวิธีแก๊สโครมาโทกราฟี วิเคราะห์สารเมือกจากผักปลังเพิ่มเติมโดยใช้เทคนิคโปรตอนเอ็นเอ็มอาร์สเปกโทรสโคปี ผลการศึกษาพบว่าสารเมือกจากเมล็ดแมงลักมีคุณสมบัติในการกักเก็บน้ำตาลดีกว่ากลูโคแมนแนน และเป็นสารเมือกที่มีความหนืดสูงสุด สารเมือกจากสำรองมีคุณสมบัติในการยังยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสดีที่สุด (IC₅₀ = 1.7 มก/มล) โดยที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.5 สามารถยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้ร้อยละ 82.6 ขณะที่ 1-ดีออกซีโนจิริมัยซินที่ความเข้มข้นเดียวกันยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสได้ร้อยละ 47.6 สารเมือกจากแมงลัก ลูกซัด และกลูโคแมนแนน ลดการละลายของคอเลสเทอรอลในไมเซลล์ได้ประมาณร้อยละ 20 สารเมือกที่ศึกษารวมทั้งกลูโคแมนแนนลดการละลายของกรดโอเลอิกในไมเซลล์ ขณะที่สารเมือกส่วนใหญ่เพิ่มการละลายของกรดสเตียริกในไมเซลล์ สารเมือกที่ศึกษาไม่รบกวนการทำงานของเอนไซม์ไลเปสแต่มีผลต่อผิวสัมผัสของไมเซลล์ สารเมือกจากหมี่ สำรอง และกระเจี๊ยบเขียวมีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ โดยมี IC₅₀ น้อยกว่า 1 มก/มล การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีพบกรดกาแลกทูโรนิกในสารเมือกจากผักปลัง เทียนเกล็ดหอย และสำรอง น้ำตาลแรมโนสพบได้ในสารเมือกทุกชนิดที่ศึกษา การศึกษาสารเมือกจากผักปลังพบว่าเป็นเบตากาแลกแทน และมีองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่ อราบิโนส (ร้อยละ 24) แรมโนส (ร้อยละ 5) กาแลกโทส (ร้อยละ 41) กรดกาแลกทูโรนิก (ร้อยละ 13) และกลูโคส (ร้อยละ 16) | en |
dc.format.extent | 6002129 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | ปริญญาดุษฎีบัณฑิต | - |
dc.subject | Medicinal plants -- Thailand | - |
dc.subject | พืชสมุนไพร -- ไทย | - |
dc.title | Physicochemical properties and biological activities of mucilaginous substances from selected Thai medicinal plants | en |
dc.title.alternative | คุณสมบัติทางกายภาพทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารเมือกจากสมุนไพรไทยบางชนิด | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Doctor of Philosophy | es |
dc.degree.level | Doctoral Degree | es |
dc.degree.discipline | Research for Health Development | es |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | Nijsiri.R@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | no information provided | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
chanida_pa.pdf | 5.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.