Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิตรวัลย์ โกวิทวที | - |
dc.contributor.author | ภาสนีย์ รักษาพราหมณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-25T03:15:16Z | - |
dc.date.available | 2012-03-25T03:15:16Z | - |
dc.date.issued | 2524 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18661 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 2. เพื่อเปรียบเทียบสัมฤทธิผลทั้งเรื่องความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) ปีการศึกษา 2523 ซึ่งจัดแบ่งห้องเรียนตามระดับความสามารถ วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบทดสอบความเข้าใจคำศัพท์ 95 ข้อ และ การอ่านจับใจความ 50 ข้อ ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง และได้วิเคราะห์ข้อสอบก่อนนำไปใช้จริง แบบทดสอบทั้งสองชุดนี้อยู่ในเกณฑ์ง่าย แต่มีอำนาจจำแนกสูง แบบทดสอบความเข้าใจคำศัพท์ มีค่าความเที่ยง 0.735 แบบทดสอบการอ่านจับใจความมีความเที่ยง 0.736 ผู้วิจัยได้นำแบบทดสอบทั้งสองชุดนี้ไปทดสอบกับตัวอย่างประชากรที่เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) จำนวน 243 คน แล้วนำคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยความสามารถในการเข้าใจคำศัพท์ หาตำแหน่งเปอร์เซนไตล์ของคะแนนความสามารถในเรื่องการอ่านจับใจความ หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ระหว่างคะแนนความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ เปรียบเทียบสัมฤทธิผลความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ ของนักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว แล้วทดสอบความแตกต่างระหว่างคะแนนเฉลี่ยแต่ละคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิเคราะห์ 1.โดยเฉลี่ยแล้วนักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถในเรื่องความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความอยู่ในเกณฑ์ดี 2.ค่าสัมประสิทธิ์แห่งสหสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ มีค่าเท่ากับ 0.627 ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 3.ผลจากการเปรียบเทียบสัมฤทธิผลทั้งความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ ของนักเรียนระหว่างกลุ่มเก่ง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ปรากฏว่า 3.1 นักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกันทั้งในเรื่องความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ คือ ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) สูงกว่า ป.2/2 (กลุ่มอ่อน) ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป.2/2 (กลุ่มอ่อน) 3.2 นักเรียนที่มีความสามารถไม่แตกต่างกันทั้งในเรื่องความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความ คือ ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) กับ ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) กับ ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) กับ ป. 2/6 (กลุ่มกลาง) ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) กับ ป. 2/7 (กลุ่มกลาง) ป. 2/4 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/2 (กลุ่มอ่อน) ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/6 (กลุ่มกลาง) ป. 2/4 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/7 (กลุ่มกลาง) ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/6 (กลุ่มกลาง) ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/7 (กลุ่มกลาง) ป. 2/6 (กลุ่มกลาง) กับ ป. 2/7 (กลุ่มกลาง) 3.3 บางห้องมีลักษณะไม่เป็นไปตามนี้ คือ มีความแตกต่างกันในเรื่องความเข้าใจคำศัพท์ แต่ไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องการอ่านจับใจความ ห้องที่มีสัมฤทธิผลในเรื่องความเข้าใจคำศัพท์สูง คือ ป. 2/1 (กลุ่มเก่ง) สูงกว่า ป. 2/4 (กลุ่มกลาง) ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป. 2/2 (กลุ่มอ่อน) ป. 2/6 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป. 2/2 (กลุ่มอ่อน) ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป. 2/4 (กลุ่มกลาง) ป. 2/3 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป. 2/7 (กลุ่มกลาง) ป. 2/5 (กลุ่มกลาง) สูงกว่า ป. 2/4 (กลุ่มกลาง) ข้อเสนอแนะ ควรจะได้มีการวิจัยต่อไปในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความในชั้นอื่น ๆ ของระดับชั้นประถมศึกษา และในระดับชั้นมัธยมศึกษา | - |
dc.description.abstractalternative | Purposes 1.To find out the relationship between vocabulary understanding and reading comprehension of Prathom Suksa Two students. 2. To compare the achievement of each group in vocabulary understanding and reading comprehension of Prathom Suksa Two students of Chulalongkorn University Demonstration School (Elementary) which groups students according to their abilities. Procedures The two achievement tests constructed by the investigator consisted of 95 items of a vocabulary understanding test and 50 items of a reading comprehension test. They were quite easy but highly discriminating. The reliability of the vocabulary understanding test was 0.735 and that of the reading comprehension test was 0.736. The investigator sent the two achievement tests to test the subjects who were 243 Prathom Suksa Two students of Chulalongkorn University Demonstration School (Elementary). The Arithmetic Mean of the test score was used to determine the average ability in vocabulary understanding. The Percentile Rank was used to indicate the ability in reading comprehension. The Pearson’s Product – Moment Correlation Coefficient was used to find out the correlation coefficient between vocabulary understanding and reading comprehension abilities. The investigator compared the achievement in vocabulary understanding and reading comprehension abilities of each group by using One-Way Analysis of Variance. The Scheffe’s Multiple Comparison on Treatment Means was used to determine which groups were differed both in vocabulary understanding and reading comprehension abilities. Results and Conclusion: The major findings were as follows: 1. The abilities in vocabulary understanding and reading comprehension were high. 2. The correlation coefficient between vocabulary understanding and reading comprehension was 0.627 at statically significant .05. 3. The results of comparing the achievement in vocabulary understanding and reading comprehension ability between higher group, medium group, and lower group, at statically significant .05 were; 3.1 The groups that were significantly different in vocabulary understanding and reading comprehension abilities were; Prathom 2/1 (higher group) was higher than Prathom 2/2 (lower group) Prathom 2/3 (medium group) was higher than Prathom 2/2 (lower group) 3.2 The group that were not significantly different in vocabulary understanding and reading comprehension abilities were; Prathom 2/1 (higher group) and Prathom 2/3 (medium group) Prathom 2/1 (higher group) and Prathom 2/5 (medium group) Prathom 2/1 (higher group) and Prathom 2/6 (medium group) Prathom 2/1 (higher group) and Prathom 2/7 (medium group) Prathom 2/4 (medium group) and Prathom 2/2 (lower group) Prathom 2/3 (medium group) and Prathom 2/5 (medium group) Prathom 2/3 (medium group) and Prathom 2/6 (medium group) Prathom 2/4 (medium group) and Prathom 2/7 (medium group) Prathom 2/5 (medium group) and Prathom 2/6 (medium group) Prathom 2/5 (medium group) and Prathom 2/7 (medium group) Prathom 2/6 (medium group) and Prathom 2/7 (medium group) 3.3 Some groups were significantly different in vocabulary understanding but were not significantly different in reading comprehension. The groups that have higher achievement in vocabulary understanding were; Prathom 2/1 (higher group) was higher than Prathom 2/4 (medium group) Prathom 2/5 (medium group) was higher than Prathom 2/2 (lower group) Prathom 2/6 (medium group) was higher than Prathom 2/2 (lower group) Prathom 2/3 (medium group) was higher than Prathom 2/4 (medium group) Prathom 2/3 (medium group) was higher than Prathom 2/7 (medium group) Prathom 2/5 (medium group) was higher than Prathom 2/4 (medium group) Recommendation: Based on the above findings, the recommendation for further research is the study of the relationship between vocabulary understanding and reading comprehension abilities of other grades in elementary schools or in secondary schools. | - |
dc.format.extent | 421149 bytes | - |
dc.format.extent | 516470 bytes | - |
dc.format.extent | 603362 bytes | - |
dc.format.extent | 774790 bytes | - |
dc.format.extent | 622624 bytes | - |
dc.format.extent | 537045 bytes | - |
dc.format.extent | 2090478 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การอ่านขั้นประถมศึกษา | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจคำศัพท์ และการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่สอง | en |
dc.title.alternative | The relationship between vocabulary understanding and reading comprehension of prathom saksa two students | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pasanee_Ru_front.pdf | 411.28 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_ch1.pdf | 504.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_ch2.pdf | 589.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_ch3.pdf | 756.63 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_ch4.pdf | 608.03 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_ch5.pdf | 524.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pasanee_Ru_back.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.