Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประภาศรี สีหอำไพ-
dc.contributor.authorภิเษก จันทร์เอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-25T05:05:27Z-
dc.date.available2012-03-25T05:05:27Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18671-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “การเข้าประโยคในภาษาไทย” สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาหลักสูตรและเนื้อหาเรื่องการเข้าประโยคในภาษาไทยในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง 2. สร้างแบบทดสอบเพื่อทดสอบความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนก่อนและหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม จำนวน 66 ข้อ 3. สร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “การเข้าประโยคในภาษาไทย” สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง 4. นำบทเรียนแบบโปรแกรมที่สร้างขึ้นไปหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 90 ตัวแรกหมายถึง ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของจำนวนคำตอบที่นักศึกษาตอบถูกจากบทเรียนแบบโปรแกรม 90 ตัวหลังหมายถึง ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละของข้อสอบที่นักศึกษาทำได้หลังจากเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม 5. ทดลองใช้บทเรียนแบบโปรแกรมกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง จากวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ วิทยาลัยครูสวนดุสิต และวิทยาลัยครูพระนคร การทดลองมี 3 ขั้น ดังนี้ 5.1 ทดลองขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง กับนักศึกษา 1 คน 5.2 ทดลองขั้นกลุ่มเล็ก กับนักศึกษา 10 คน 5.3 ทดลองขั้นภาคสนาม 2 ครั้ง กับนักศึกษา 2 กลุ่ม จำนวน 200 คน ครั้งแรกทดลองกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูงวิชาเอกและโทภาษาไทย จากวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ จำนวน 100 คน ครั้งที่สองทดลองกับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูงวิชาเอกภาษาไทย จากวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ จำนวน 45 คน วิทยาลัยครูสวนดุสิตจำนวน 25 คน และ วิทยาลัยครูพระนคร จำนวน 30 คน รวม 100 คน 6. เก็บรวบรวมข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90ผลการวิจัย ประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “การเข้าประโยคในภาษาไทย” สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาขั้นสูง มีประสิทธิภาพ 93.09/91.91 หมายความว่า นักศึกษาสามารถทำบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 93.09 และสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 90.91 ดังนั้น จึงถือว่าบทเรียนแบบโปรแกรมนี้มีประสิทธิภาพถึงเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ที่กำหนดไว้ และเมื่อนำคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนบทเรียนกับคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนบทเรียนของนักศึกษามาเปรียบเทียบกัน ปรากฏว่า คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนบทเรียนได้มากกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนบทเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อีกด้วย แสดงว่าบทเรียนแบบโปรแกรมที่สร้างขึ้นนี้สามารถนำไปใช้สอนนักศึกษาให้พัฒนาความรู้เรื่องนี้ได้อย่างแท้จริง-
dc.description.abstractalternativeObjective To construct and to find out the efficiency of a Thai programmed lesson on "Construction of Thai Sentences" for Upper Certificate of Education Level, on the 90/90 standard. Procedure 1. Studying the curriculum and the content of the Construction of Thai Sentences in the Upper Certificate of Education Level. 2. Constructing the pre-test and the post-test, which consist of sixty-six items, according to the content. 3. Constructing a Thai programmed lesson on "Construction of Thai Sentences" for Upper Certificate of Education Level. 4. Finding the efficiency of the programmed lesson on the 90/90 standard. The former 90 was the average score which the students were able to make from the programmed lesson. The latter 90 was the average score which the students were able to make from the post-test. 5. The sample used in this study were students of the Upper Certificate of Education of Petchburiwittayalongkorn Tachers College, Suandusit Teachers College, and Phranakorn Teachers College. The three steps of the experimentation were : 5.1 One-to-One testing. 5.2 Small group testing. A group of ten students were tested. 5.3 Field testing. Two group of 200 students were tested. In the first testing, the samples were 100 students of the Upper Certificate of Education Level of Petchburiwittayalongkorn Tachers College who take Thai Language as the major and the minor subject. In the second testing, the samples, the samples were 100 students of the Upper Certificate of Education Level who take Thai Language as the major subject. These samples were 45 students from Petchburiwittayalongkorn Tachers College, 25 students from Suandusit Teachers College, and 30 students from Phranakorn Teachers College. 6. Collecting and analysis the data to find out the efficiency of the programmed lesson on the 90/90 standard.-
dc.format.extent374043 bytes-
dc.format.extent451318 bytes-
dc.format.extent792708 bytes-
dc.format.extent1798128 bytes-
dc.format.extent485385 bytes-
dc.format.extent303770 bytes-
dc.format.extent561287 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูปen
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง "การเข้าประโยคในภาษาไทย" สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูงen
dc.title.alternativeConstruction of a Thai programmed lesson on "construction of Thai sentences" for upper certificate of education levelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pisake_Ju_front.pdf365.28 kBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_ch1.pdf440.74 kBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_ch2.pdf774.13 kBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_ch3.pdf1.76 MBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_ch4.pdf474.01 kBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_ch5.pdf296.65 kBAdobe PDFView/Open
Pisake_Ju_back.pdf548.13 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.