Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18710
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวงศ์พันธ์ ลิมปเสนีย์-
dc.contributor.advisorสรันยา เฮงพระพรหม-
dc.contributor.authorจิตรลดา ต้นพรหม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-26T07:25:26Z-
dc.date.available2012-03-26T07:25:26Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18710-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการศึกษา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง มีวัตถุประสงค์ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารกับคุณภาพอากาศภายในโรงพยาบาลกลาง โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีสุ่มแบบชั้นในแต่ละกลุ่มงาน และทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการตรวจวัดคุณภาพอากาศ (ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สารประกอบอินทรีย์ระเหยรวม อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม อัตราการระบายอากาศ แบคทีเรียรวมในอากาศ และเชื้อรารวมในอากาศ) โดยมีการแจกแบบสอบถามไปจำนวน 400 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามตอบกลับจำนวน 337 ฉบับ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 84.25 ผลการศึกษาพบว่า ความชุกของกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารคิดเป็นร้อยละ 24.62 โดยพบ กลุ่มอาการทางระบบประสาทคิดเป็นร้อยละ 14.46 กลุ่มอาการทางตาคิดเป็นร้อยละ 11.38 กลุ่มอาการทางจมูกคิดเป็นร้อยละ 5.85 กลุ่มอาการทางลำคอคิดเป็นร้อยละ 4.62 กลุ่มอาการทางเดินหายใจคิดเป็นร้อยละ 3.69 และกลุ่มอาการทางผิวหนังคิดเป็นร้อยละ 1.85 ตามลำดับ โดยสรุป การศึกษาไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารกับคุณภาพอากาศภายในโรงพยาบาลกลาง เมื่อวิเคราะห์ด้วย Multiple logistic regression พบว่าปัจจัยที่มีเกี่ยวข้องกับกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) คือ ผู้ที่มีประวัติเป็นโรคภูมิแพ้ มีอัตราเสี่ยงเท่ากับ 2.14en
dc.description.abstractalternativeChitlada TonpromThe objective of this study was to investigate the relationship between Sick Building Syndrome and Indoor Air Quality in Klang hospital by stratified sampling in accordance with activities. The data were collected through questionnaires and the air quality parameters (particles less than 2.5 and 10 micrometers in diameters, carbon dioxide, volatile organic compounds, temperature, relative humidity, wind velocity, air change rate, bacteria and fungi) were measured by indoor air quality instruments. A total of 400 questionnaires were distributed and 337 were returned, with the response rate of 84.25 percent. The results demonstrated the overall prevalence of Sick Building Syndrome was 24.62 percent. The symptoms according to organ system were neurological (14.46 percent), ocular (11.38 percent), nasal (5.85 percent), throat (4.62 percent), respiratory tract (3.69 percent) and dermal (1.85 percent). In conclusion, the study did not reveal the relationship between Sick Building Syndrome and Indoor Air Quality in Klang hospital. The Multiple logistic regression analysis showed that the only factor relate to Sick Building Syndrome was an allergy (p < 0.05, Odds ratio = 2.14)en
dc.format.extent2294624 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.657-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาลกลางen
dc.subjectมลพิษทางอากาศen
dc.subjectอาคาร -- แง่สิ่งแวดล้อมen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการป่วยเหตุอาคารกับคุณภาพอากาศภายในโรงพยาบาลกลางen
dc.title.alternativeRelationship between sick building syndrome and indoor air quality in klang hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWongpun.L@chula.ac.th-
dc.email.advisorSarunya.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.657-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chitlada_to.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.