Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18733
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริจันทร์ ทองประเสริฐ-
dc.contributor.authorวรเดช เกรียงสันติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-26T14:19:03Z-
dc.date.available2012-03-26T14:19:03Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18733-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต์ มีความสำคัญในแง่ของการผลิตเพื่อส่งต่อไปยังอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างและมีความสำคัญอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ แต่อย่างไรก็ตามโดยธรรมชาติของกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ยังถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งในอนาคตการให้ความสำคัญกับการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมจะกลายมาเป็นปัจจัยหนึ่งในการแข่งขันกันทางธุรกิจ ดังนั้นจึงได้ศึกษาและทำการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ และประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อหาต้นทุนการผลิตที่ต่ำที่สุดโดยที่สามารถทำการผลิตปูนซีเมนต์ได้ตามเป้าหมายอีกทั้งยังสามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อีกด้วย ตัวชี้วัดซึ่งจะนำมาประยุกต์ใช้กับโรงปูน ได้แก่ ตัวชี้วัดในด้านวัตถุดิบ, การใช้พลังงาน ซึ่งประเด็นตัวชี้วัดเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับต้นทุนการผลิตและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยทำการประเมินจากกลุ่มอุตสาหกรรมซีเมนต์ของบริษัทแห่งหนึ่งจำนวน 5 โรงงาน และทำการประเมินในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งผลปรากฏว่ากลุ่มธุรกิจนี้มีค่าประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจด้านวัตถุดิบเท่ากับ 0.00176 ล้านบาท/ตัน และมีประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจด้านพลังงานเท่ากับ 0.926 ล้านบาท/เทระจูล ในการประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์โดยต้องการต้นทุนวัตถุดิบและเชื้อเพลิงต่ำที่สุดนั้นทำให้ทราบว่าควรใช้วัตถุดิบในการผลิตคือ หินปูน 1.25 กิโลกรัม ดินเหนียว 0.13 กิโลกรัม ทราย 0.06 กิโลกรัม และใช้เชื้อเพลิงในการผลิตคือ ถ่านหิน 0.095 กิโลกรัม และใบอ้อย 0.060 กิโลกรัม ต่อการผลิตปูนเม็ด 1 กิโลกรัมen
dc.description.abstractalternativeCement industries are the important upstream for building material industries and they also important to the economic of country. However, the processes of cement manufacturing are effect to environment. In the future environmental problems will become a business competition. Hence, the article focus on evaluate eco – efficiency and apply mathematical model to minimize material cost and fuel cost . The indices that apply for cement plants are material and energy eco – efficiency. These indices imply with cost of manufacture and also environmental influence. The assessment base on 5 factories of cement group and assessed in 2008. The material eco – efficiency is 0.00176 MB/ton and energy eco – efficiency is 0.926 MB/Terajoules Mathematical model show that the optimum solution for cement making should use limestone 1.25 kilogram clay 0.13 kilogram sand 0.06 kilogram coal 0.095 kilogram and sugar kane‘s leaf 0.060 kilogram to make 1 kilogram of clinker.en
dc.format.extent2787787 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.581-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ-
dc.subjectอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจและการประยุกต์ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการจัดการก๊าซเรือนกระจกในโรงงานผลิตปูนซีเมนต์en
dc.title.alternativeAssessment of eco-efficiency and application of mathematical model for green house gas management in cement plantsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSirichan.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.581-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
voradej_kr.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.