Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18912
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประคอง นิมมานเหมินท์ | - |
dc.contributor.author | วิภาวี ไชยยงค์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-31T15:08:46Z | - |
dc.date.available | 2012-03-31T15:08:46Z | - |
dc.date.issued | 2522 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18912 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “วรรณยุกต์” สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม การดำเนินการวิจัย ดำเนินเป็นขั้นๆดังนี้ 1. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับชนิดและเทคนิคการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม 2. ศึกษาหลักสูตรแบบเรียน และตำราเรียนต่างๆวิชาภาษาไทย 3. กำหนดความมุ่งหมายทั่วไปและความมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมของบทเรียน 4. สร้างแบบทดสอบก่อนและหลังบทเรียนแบบโปรแกรม จำนวน 50 ข้อ 5. สร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “วรรณยุกต์” สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม 6. นำบทเรียนแบบโปรแกรมที่สร้างขึ้นไปหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 7. ทดลองใช้บทเรียนแบบโปรแกรมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน จำนวน 111 คน การทดลอง 3 ขั้นมีดังนี้คือ ก) ขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง ทดลองกับนักเรียน 1 คน ข) ขั้นกลุ่มเล็ก ทดลองกับนักเรียน 10 คน ค) ขั้นภาคสนาม ทดลองกับนักเรียน 100 คน 8. เก็บรวบรวมข้อมูล แล้วนำมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนแบบโปรแกรม ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ผลการวิจัยปรากฏว่า บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง “วรรณยุกต์” สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม มีประสิทธิภาพ 97.29/88.12 หมายความว่า นักเรียนสามารถทำบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 97.29 และสามารถทำแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 88.12 บทเรียนนี้มีประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 1.88 แต่คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนบทเรียนมากกว่าคะแนนก่อนเรียนบทเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 แสดงว่า นักเรียนเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมนี้แล้วมีความรู้เพิ่มขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to construct and find out the efficiency of a Thai programmed lesson on “Tones” for Mathayom Suksa Three. The procedure was carried out in steps as follows: 1. Studying types and techniques for constructing a programmed lesson 2. Studying Thai Curriculum and textbooks 3. Defining general and behavioral objectives 4. Constructing a pre-test and post-test, consisting of fifty items 5. Constructing a Thai programmed lesson on “Tones” for Mathayom Suksa Three 6. Finding the efficiency of this programmed lesson by the 90/90 standard 7. The samples used in this study were 111 students of Mathayom Suksa Three of the Demonstration School of Srinakharinwirot University Pathumwan. The three steps in the experimentation were: a) One-to-One Testing. One student was tested. b) Small group Testing. One group, consisting of ten students, was tested. c) Field Testing. A group of one hundred students was tested. 8.Collecting and analysing the data to find out the effiency of the programmed lesson using the 90/90 standard. The results showed that the efficiency of the constructed Programmed lesson on “Tones” for Mathayom Suksa Three was 97.29/88.12. This means that the students’ average score was 97.29 percent in answering the questions in the Programmed Lesson and the average score was 88.12 percent in answering the questions on the post-test, but the average of the post-test significantly higher than the average score of the pre-test at the level of .01. This shows that the programmed lesson has significantly improved the knowledge of the students. | - |
dc.format.extent | 534261 bytes | - |
dc.format.extent | 919572 bytes | - |
dc.format.extent | 3064627 bytes | - |
dc.format.extent | 2895827 bytes | - |
dc.format.extent | 690225 bytes | - |
dc.format.extent | 490695 bytes | - |
dc.format.extent | 8288895 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสอนแบบโปรแกรม | en |
dc.subject | ภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.title | การสร้างโปรแกรมแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทยเรื่อง "วรรณยุกต์" สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม | en |
dc.title.alternative | Construction of a Thai programmed lesson on "Tones" for mathayom suksa three | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vipavee_Ch_front.pdf | 521.74 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_ch1.pdf | 898.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_ch2.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_ch3.pdf | 2.83 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_ch4.pdf | 674.05 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_ch5.pdf | 479.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Vipavee_Ch_back.pdf | 8.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.