Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18924
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงรัตน์ บุญญานุรักษ์-
dc.contributor.advisorสุขศรี บูรณะนิษฐ์-
dc.contributor.authorวิภาดา คุณาวิกติกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-04-01T03:12:53Z-
dc.date.available2012-04-01T03:12:53Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745669334-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18924-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการรับรู้ของหญิงมีครรภ์ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ และเพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ของหญิงมีครรภ์ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ จากการรายงานของหญิงมีครรภ์และพยาบาล ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นมารดาหลังคลอดที่ใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ในระยะคลอดจำนวน 60 คน แยกเป็นมารดาหลังคลอดที่ในระหว่างการตั้งครรภ์มีอาการปกติ 30 คน และ มารดาหลังคลอดที่ในระหว่างการตั้งครรภ์อยู่ในภาวะเสี่ยงต่ออันตราย 30 คน และพยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องคลอดจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 2 ชุด เพื่อให้หญิงมีครรภ์และพยาบาลเป็นผู้ตอบ นำไปหาความตรงตามเนื้อหา และความเที่ยงได้ค่าความเที่ยงตามแบบสัมประสิทธิอัลฟาของครอนบาค (Cronbach) เท่ากับ .80 และ .89 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) การรับรู้ของหญิงมีครรภ์ โดยส่วนรวม ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์เป็นไปในทางบวก 2) การรับรู้ของหญิงมีครรภ์ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ตามการรายงานของหญิงมีครรภ์ปกติ และพยาบาล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 โดยหญิงมีครรภ์ปกติมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานหัวใจทารกในครรภ์เป็นไปในทางบวก และการรับรู้ที่รายงานโดยพยาบาลเป็นไปในทางลบ 3) การรับรู้ของหญิงมีครรภ์ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงานของหัวใจทารกในครรภ์ตามการรายงานของหญิงมีครรภ์ที่เสี่ยงต่ออันตรายและพยาบาลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the pregnant women’s perception on the use of an intrapartum fetal monitor and to compare the pregnant women’s perception on the use of an intrapartum fetal monitor as reported by themselves and nurses. The sample composed of 30 nurses and 60 postpartum women who have been used an intrapartum fetal monitor. The postpartum women samples were devided into two groups: 30 postpartum women who went through normal pregnancies and 30 women were at risk during pregnancies. The instruments developed by the researcher were the questionairs used to collect the responses from the postpartum women and the nurses. The panel of experts in maternity nursing reviewed the instrument in order to ensure the content validity. The reliability procedure was conducted on the try-out data which indicated alpha coefficient on two instruments were 0.80 and 0.89 respectively. The data were analysed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation, and the t-test. The conclusions drawn from data analysis were as follows: 1. Total pregnant wemen’s perception on the use of an intrapartum fetal monitor was positive. 2. There was statistically significant difference at the .05 level in the pregnant women’s perception on the use of an intrapartum fetal monitor as reported by normal pregnant women and nurses. Mean scores indicated that normal pregnant women’s perception was positive and the perception reported by nurses was negative. 3. There was no statistically significant difference at the .05 level in the pregnant women’s perception on the use of an intrapartum fetal monitor as reported by highrisk pregnant women and nurses. 4. There was no statistically significant difference at the .05 level between normal and highrisk pregnant women’s perception on the use of and intrapartum fetal monitor.-
dc.format.extent553999 bytes-
dc.format.extent633877 bytes-
dc.format.extent1301474 bytes-
dc.format.extent509752 bytes-
dc.format.extent1368874 bytes-
dc.format.extent1009563 bytes-
dc.format.extent1431930 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectครรภ์ -- ไทย -- แง่จิตวิทยาen
dc.subjectสตรีมีครรภ์ -- ไทยen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectการพยาบาลทางสูติศาสตร์en
dc.titleการเปรียบเทียบการรับรู้ของหญิงมีครรภ์ ต่อการใช้เครื่องตรวจวัดการทำงาน ของหัวใจทารกในครรภ์ตามการรายงาน ของตนเองและพยาบาลen
dc.title.alternativeA comparison of pregnant women's perception on the use of an intrapartum fetal monitor as reported by themselves and nursesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wipada_Ku_front.pdf541.01 kBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_ch1.pdf619.02 kBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_ch2.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_ch3.pdf497.8 kBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_ch4.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_ch5.pdf985.9 kBAdobe PDFView/Open
Wipada_Ku_back.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.