Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสวัสดิ์ ประทุมราช-
dc.contributor.authorสมจิตต์ ทิพย์สุวรรณสิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-01T04:47:48Z-
dc.date.available2012-04-01T04:47:48Z-
dc.date.issued2521-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18938-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2521en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแบบสอบชุดความถนัดจำแนกด้านความสัมพันธ์เชิงมิติมาใช้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา พร้อมทั้งหาปกติวิสัยเปอร์เซ็นต์ไตล์ของความถนัดด้านความสัมพันธ์เชิงมิติของนักเรียนชาย หญิง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 5 แบบสอบชุดความถนัดจำแนกด้านความสัมพันธ์เชิงมิตินี้ได้สร้างตามแนวของแบบสอบดี เอ ที เป็นแบบสอบแบบเลือกตอบ ชนิด 5 ตัวเลือก มีลักษณะเป็นรูปภาพทั้งหมด มีจำนวนข้อสอบ 40 ข้อ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 1,421 คน และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 1,070 คน ผลการวิจัย 1. ค่าความเที่ยงของแบบสอบทั้งชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 5 เมื่อคำนวณโดยใช้สูตรคูเดอร์ริชาร์ดสันสูตรที่ 20 และสูตรที่ 21 มีค่าตั้งแต่ .788 ถึง .899 และ .744 ถึง .890 ตามลำดับ 2. ค่าความตรงตามสภาพของแบบสอบเมื่อใช้ผลสัมฤทธิ์ในหมวดวิชาคณิตศาสตร์เป็นเกณฑ์ มีค่าสูงสุดทั้งในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 5 คือมีค่า .351 และ .217 ตามลำดับ และค่าความตรงของแบบสอบเมื่อใช้ผลสัมฤทธิ์ในหมวดวิชาภาษาอังกฤษเป็นเกณฑ์ มีค่าต่ำสุดในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ส่วนมัธยมศึกษาปีที่ 5 ค่าความตรงมีความสัมพันธ์อย่างไม่มีนัยสำคัญ 3. การวิเคราะห์รายข้อของแบบสอบสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า มีค่าระดับความยากตั้งแต่ .161 ถึง .570 ค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .234 ถึง .696 และสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่ามีค่าระดับความยากตั้งแต่ .191 ถึง .589 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ .289 ถึง .731 4. ได้ปกติวิสัยเปอร์เซ็นต์ไตล์สำหรับใช้กับนักเรียนชายหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop the Space Relations Test of the Differential Aptitude Test Battery by using with secondary students and calculate the percentile norms of the Space Relations aptitude of boys and girls of Mattayomsuksa III and Mattayomsuksa V students. The Space Relations Test was constructed as modeling on the DAT. The 40 items of the test were multiple choice test with 5 choices for every item and all items were figures. The subjects were 1,421 Mattayomsuksa III students and 1,070 Mattayomsuksa V students. The results were as the following : 1. The reliabilities of the test for Mattayomsuksa III and Mattayomsuksa V, using Kuder Richardson Formula 20 and 21 were between .788 and .899, .774 and .890 respectively. 2. The concurrent validity of the test with Mathematics achievement as critirion had maximum value for Mattayomsuksa III and Mattayomsuksa V, that was .351 and .217 respectively. The concurrent validity of the test with English language achievement as criterion had minimum value for Mattayomsuksa III, but it was not significant for Mattayomsuksa V. 3. The analysis of each item of the test for Mattayomsuksa III students revealed that the levels of difficulty and the discrimination indices were between .161 and .570, .234 and .696 respectively. For Mattayomsuksa V students revealed that the levels of difficulty and the discrimination indices were between .191 and .589, .289 and .731 respectively. 4. The percentile norms have been calculated for boys and girls of Mattayomsuksa III and Mattayomsuksa V students.-
dc.format.extent474766 bytes-
dc.format.extent470899 bytes-
dc.format.extent1070433 bytes-
dc.format.extent676452 bytes-
dc.format.extent499856 bytes-
dc.format.extent379866 bytes-
dc.format.extent649152 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความถนัด -- การวัดen
dc.titleการพัฒนาแบบสอบชุดความถนัดจำแนกด้านความสัมพันธ์เชิงมิติen
dc.title.alternativeDevelopment of a space relations test of the differential aptitude test batteryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchit_Ti_front.pdf463.64 kBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_ch1.pdf459.86 kBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_ch2.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_ch3.pdf660.6 kBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_ch4.pdf488.14 kBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_ch5.pdf370.96 kBAdobe PDFView/Open
Somchit_Ti_back.pdf633.94 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.