Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.authorกานต์วลี พังซา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialประจวบคีรีขันธ์-
dc.coverage.spatialชุมพร-
dc.coverage.spatialสุราษฎร์ธานี-
dc.coverage.spatialนครศรีธรรมราช-
dc.date.accessioned2012-04-03T13:51:42Z-
dc.date.available2012-04-03T13:51:42Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดสารกัมมันตรังสีที่เกิดตามธรรมชาติและที่มนุษย์ผลิตขึ้นในตะกอนดินชายฝั่งทะเลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฏร์ธานี และนครศรีธรรมราช เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน โดยได้ทำการตรวจวิเคราะห์อัตราการปลดปล่อยรังสีบีตา/แอลฟารวม พบว่า มีอัตราการปลดปล่อยรังสีแอลฟาที่สูงสุดอยู่ที่ อ.บ้านดอน จ.สุราษฎร์ธานี มีค่าเท่ากับ 0.050±0.003 cps/cm² และอัตราการปลดปล่อยรังสีเบตาที่สูงสุดอยู่ที่ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช มีค่าเท่ากับ 0.091±0.001 cps/g และทำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Gamma Spectrometry เพื่อหาความเข้มข้นกัมมันตรังสีตามธรรมชาติของ ²²⁶Ra, ²²⁸Ra, ⁴⁰K และที่มนุษย์ผลิตขึ้น คือ ¹³⁷Cs นอกจากนี้ได้ทำการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ICP-MS และเทคนิคแอลฟาสเปกโตรเมตรี เพื่อหาความเข้มข้นกัมมันตรังสีของ ²³⁸U, ²³⁵U และ ²³²Th พบว่าค่าสูงสุดอยู่ที่ตำแหน่งเดียวกัน คือ อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งมีค่าเท่ากับ 69.89±0.84 Bq/kg (²²⁶Ra), 116.73±1.96 Bq/g (²²⁸Ra), 1,176.89±21.28 Bq/kg (⁴⁰K), 4.04±0.63 Bq/kg (¹³⁷Cs), 59.42 ±0.96 Bq/kg (65.55±1.35 Bq/kg, แอลฟาสเปกโตร-เมตรี) (²³⁸U), 2.23±0.04 Bq/kg (2.98±0.06 Bq/kg, แอลฟาสเปกโตรเมตรี) (²³⁵U) และ 118.13±0.35 Bq/kg (126.40±0.87 Bq/kg, แอลฟาสเปกโตรเมตรี) (²³²Th) สำหรับการศึกษาการดูดซับสารรังสีบางชนิดของตะกอนดิน โดยหาจากค่าสัมประสิทธิ์การแจกแจงการดูดซับสารรังสี (Distribution Coefficients, Kd) ของ ¹³⁷Cs ในที่นี้ได้ทดลองหาชนิดของตะกอนที่มีผลต่อการการดูดซับสารรังสีของตะกอน 3 ชนิด คือ ทรายหยาบ, ทรายละเอียด และดินเคลย์ พบว่า การดูดซับความเข้มข้นของสารรังสีในตะกอนขนาดเล็ก (< 0.002 มิลลิเมตร) มีการดูดซับได้มากกว่าตะกอนขนาดใหญ่ (< 2 มิลลิเมตร)en
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research was to measure natural and artificial radionuclides in long shore sediments of Prachuap Khiri Khan, Chumphon, Surat Thani and Nakhon Si Thammarat provinces in order to establish baseline data. This research was conducted to measure the gross emission rate of alpha/beta. It was found that the highest gross alpha emission rate was 0.050±0.003 cps/cm² at Amphoe Bandon, Surat Thani Province, whereas the highest gross beta emission rate was found to be 0.091±0.001 cps/g in Amphoe Sichon, Nakhon Si Thammarat Province. Measurement of the activity concentration due to ²²⁶Ra, ²²⁸Ra, ⁴⁰K (naturally occurring radionuclides) and ¹³⁷Cs (artificial radionuclide) in sediment samples was performed by gamma-spectrometry, and ²³⁸U, ²³⁵U and ²³²Th concentrations were analyzed by ICP-MS and alpha-spectrometry. The maximum activity concentration of analyzed radionuclides in sediment samples were found at Amphoe Sichon, Nakhon Si Thammarat Province, which were: 69.89±0.84 Bq/kg for ²²⁶Ra, 116.73±1.96 Bq/g for ²²⁸Ra, 1,176.89±21.28 Bq/kg for ⁴⁰K, 4.04±0.63 Bq/kg for ¹³⁷Cs, 59.42 ±0.96 Bq/kg (65.55±1.35 Bq/kg, alpha-spectrometry) for ²³⁸U, 2.23±0.04 Bq/kg (2.98±0.06 Bq/kg, alpha-spectrometry) for 235U and 118.13±0.35 Bq/kg (126.40±0.87 Bq/kg, alpha-spectrometry) for ²³²Th. The absorption behavior of ¹³⁷s radionuclide in sediment was also investigated. The distribution coefficient, Kd, of ¹³⁷Cs was carried out in three sediment types namely very coarse sand, fine sand and clay. The K[subscript d] value in small (< 0.002 mm) sediment particles was found to be significantly higher than that of coarse particles (<2 mm)en
dc.format.extent4860012 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.241-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารกัมมันตรังสี -- การวัดen
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา)en
dc.titleการวัดสารกัมมันตรังสีที่เกิดตามธรรมชาติและที่มนุษย์ผลิตขึ้นในตะกอนดินชายฝั่งทะเลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานen
dc.title.alternativeDetermination of natural and artificial radionuclides in long shore sediments of Prachuap Khiri Khan, Chumphon, Surat Thani and Nakhon Si Thammarat Provinces for based line dataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupitcha.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.241-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Karnwalee_pa.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.