Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กีรติ บุญเจือ | - |
dc.contributor.author | สิวลี ศิริไล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-04-04T14:48:08Z | - |
dc.date.available | 2012-04-04T14:48:08Z | - |
dc.date.issued | 2517 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18982 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 | en |
dc.description.abstract | ปัญหาเรื่องการมีอยู่ของพระเจ้าเป็นปัญหาที่มีการโต้เถียงมาตั้งแต่สมัยกรีกในยุคของเพลโต และเป็นปัญหาที่นักปรัชญาให้ความสนใจมาถึงปัจจุบันนี้ สิ่งที่นักปรัชญาต้องการแสวงหาคำตอบก็คือ มีประจักษ์พยานอะไรที่ชี้ให้เห็นธรรมชาติและคุณลักษณะของพระเจ้า นักปรัชญาคริสเตียนคนสำคัญ เช่น เซนต์ ออกัสติน เซนต์ แอนแซล์ม และเซนต์ โธมัส อะไควนัส ได้ให้คำอธิบายเกี่ยวกับพระเจ้าและวิธีพิสูจน์ถึงการมีอยู่ของพระเจ้าในแบบก่อนประสบการณ์ (a priori) และหลังประสบการณ์ (a posteriori) เพื่อยืนยันถึงการมีอยู่อย่างแท้จริงของพระองค์ สรุปแล้วมนุษย์จะต้องมีความเชื่อและศรัทธาเป็นจุดเริ่มต้นที่จะแสวงหาความรู้และความเข้าใจในการมีอยู่ของพระเจ้าได้ ในสมัยปัจจุบันทัศนคติของนักปรัชญาเปลี่ยนไป นักปรัชญาปัจจุบันส่วนใหญ่มีความเห็นว่า ความเป็นจริง (reality) จะต้องเป็นสิ่งที่พบได้ในโลกแห่งประสบการณ์ และหน้าที่ของปรัชญาคือการวิเคราะห์ภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้สื่อความหมายข้อเท็จจริงในโลกแห่งผัสสะ นักปรัชญาภาษากลุ่มวิเคราะห์โดยการทดสอบ แบ่งประเภทของข้อความต่าง ๆ ออกเป็นสองประเภท ได้แก่ ข้อความวิเคราะห์ (analytic statement) และข้อความสังเคราะห์ (synthetic statement) ซึ่งความหมายของข้อความทั้งสองประเภทนี้ชี้ให้เห็นความจริงเท็จ ข้อความในแบบเทววิทยา เช่น “พระเจ้ามีอยู่” ไม่อาจทดสอบได้ในประเภทใดและไม่ได้ชี้ให้เห็นถึงข้อเท็จจริงแต่ประการใด ข้อความแบบเทววิทยาซึ่งกล่าวถึงพระเจ้าจึงไร้ความหมาย และเป็นความผิดพลาดในการใช้ภาษา ผู้เขียนได้เสนอความคิดเห็นส่วนตัวว่า ปัญหาเรื่องการมีอยู่ของพระเจ้าเป็นปัญหาที่ไม่อาจให้คำตอบได้ เนื่องจากเป็นเรื่องของความเชื่อ ความศรัทธา ที่ไม่อาจนำมาโต้แย้งกับความไม่เชื่อ เพราะจะทำให้การโต้แย้งเป็นไปโดยไม่มีที่สิ้นสุด และเนื่องจากขาดหลักการที่มีเหตุผลและความแน่นอนพอเพียงที่จะนำมาตัดสิน ปัญหาเรื่องการมีอยู่ของพระเจ้าจึงเป็นเรื่องที่ขึ้นอยู่กับความคิด ความเชื่อและประสบการณ์ของแต่ละคน | - |
dc.description.abstractalternative | The problem of God’s existence has been the topic of discussion since the time of Plato. What the philosophers want to know can be summed up into two questions: ‘Does God exist?’ and ‘What is the nature of the existing God?’ In order to assert the reality of God’s existence, the Christian philosophers as Augustine, Anselm and Aquinas described and demonstrated in two ways: the a priori and the a posteriori argumentations. Both ways can be evident only those who basically have faith and belief in their mind. Nowadays the philosopher’s attitude changes. Most of the Contemporary philosophers agree that the reality should be found only in the realm of empirical world. And the function of philosophy is to engage in analysing the meaning of language. Language is essentially an instrument for the communication of facts in the world of sense. The Verificational analysis, according to their principle, distinguishes statements into two types: analytic and synthetic; both denote facts. Theological statements such as ‘God exists’, can not be verified by any type and thus denote nothing. Therefore theological statements which refer to God are all Meaningless. It is the misuse of language. It come to the author’s mind that there is no any absolute answer to the problem of God’s existence. Since it depends on faith and belief which can not be argued on the unbelieving terms. Without a clear analysis of the language to be used the discussion would lead to no agreement at all. While there is no certain criterion for judgement, the answer to the question depends on individual’s belief and experience. | - |
dc.format.extent | 596008 bytes | - |
dc.format.extent | 534461 bytes | - |
dc.format.extent | 1362531 bytes | - |
dc.format.extent | 474643 bytes | - |
dc.format.extent | 1128763 bytes | - |
dc.format.extent | 679011 bytes | - |
dc.format.extent | 352428 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | พระเจ้า | en |
dc.title | ปัญหาเรื่องการมีอยู่ของพระเจ้า | en |
dc.title.alternative | The problem of God's existence | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ปรัชญา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sivalee_Si_front.pdf | 582.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_ch1.pdf | 521.93 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_ch2.pdf | 1.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_ch3.pdf | 463.52 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_ch4.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_ch5.pdf | 663.1 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sivalee_Si_back.pdf | 344.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.