Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19010
Title: | ขวัญในการปฏิบัติงานของครูพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา ของกรุงเทพมหานคร |
Other Titles: | The morale of physical education teachers in Bangkok metropolis elementary schools |
Authors: | สุชาติ วิภาสธวัช |
Advisors: | รัชนี ขวัญบุญจัน |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Rajanee.q@chula.ac.th |
Subjects: | ขวัญในการทำงาน |
Issue Date: | 2525 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขวัญของครูพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาของกรุงเทพมหานครโดยใช้แบบสอบถามส่งไปยังครูพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาของกรุงเทพมหานครในเขตชั้นในและเขตชั้นนอกรวมทั้งสิ้น 200 คน ได้รับแบบสอบถามคืนมา 170 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 85 นำผลที่ได้จากการเก็บข้อมูลมาวิเคราะห์ตามวิธีสถิติโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. ขวัญของครูพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาของกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูงในด้าน ความรู้สึกภูมิใจและเห็นความสำคัญของงาน ความเชื่อมั่นในการบริหารของผู้บังคับบัญชา โอกาสก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ความสัมพันธ์อันดีในหน่วยงาน การมีโอกาสได้ร่วมกำหนดนโยบาย การยอมรับของเพื่อนร่วมงานและมีขวัญอยู่ในระดับต่ำในด้าน ความพึงพอใจสภาพการทำงาน สวัสดิการในการทำงาน การได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรม 2. ขวัญของครูพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาของกรุงเทพมหานครในเขตชั้นในและเขตชั้นนอกไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 |
Other Abstract: | The purpose of this research was to study the morale of physical education teachers in Bangkok Metropolis Elementary Schools. The questionnaires were constructed and sent to 200 physical education teachers in Bangkok Metropolis Elementary School in the inner and outer areas, 85 percent of the questionnaires were returned. The obtained data were then analyzed in terms of means and standard deviations. A “t” test was also employed to determine the significant difference. It was found that: 1. The morale of physical education teacher in Bangkok Metropolis elementary schools was at the high level in the aspects of: - pride in the job ; confidence in management ; chance for growth and advancement ; friendliness and cooperation of members ; participation in policy formulation ; status and recognition. And was at the low level in the aspects of : job satisfaction ; employee service and security; fair treatment. 2. There was no significant difference in morale between physical education teachers in the inner areas and those in the outer areas at the .05 level. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 |
Degree Name: | ครุศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | พลศึกษา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19010 |
ISBN: | 9745609803 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suchart_Vi_front.pdf | 421.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_ch1.pdf | 657.14 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_ch2.pdf | 665.17 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_ch3.pdf | 377.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_ch4.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_ch5.pdf | 599.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchart_Vi_back.pdf | 672.67 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.