Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงกมล ชาติประเสริฐ-
dc.contributor.authorมารุต วงษ์ศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-16T02:28:41Z-
dc.date.available2012-04-16T02:28:41Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19065-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการเผยแพร่และรูปแบบของอคติทางเพศที่ถูกนำเสนอในการ์ตูนตลกไทย ใช้วิธีศึกษาวิจัยแบบวิเคราะห์เนื้อหาของหนังสือการ์ตูนรวมทั้งสิน 24 เล่ม จากหนังสือการ์ตูนตลกไทย 6 หัว ได้แก่ เกมเศรษฐีจี้เส้น, ขายหัวเราะ, มหาสนุก, ตลาดตลก, ยิ้มสยาม และฮากลิ้งสาวคำพอง ซึ่งออกจำหน่ายในช่วงเดือนกันยายนถึงธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยศึกษาวิเคราะห์ภาพตัวแทนของทั้งตัวละครเพศชายและตัวละครเพศหญิงผ่านอคติเชิงมุ่งร้ายและอคติเชิงเมตตาที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง, ความรุนแรง, รูปลักษณ์ทั้งกายภาพและลักษณะนิสัย, บทบาท, สถานะ และความโป๊เปลือย ผลการศึกษาดังนี้ 1. การ์ตูนตลกไทยนำเสนอทั้งอคติต่อเพศชายและอคติต่อเพศหญิง แต่พบรูปแบบและปริมาณอคติต่อเพศหญิงมากกว่าอคติต่อเพศชาย 2. ผู้หญิงถูกนำเสนอด้วยภาพตัวแทนของวัตถุทางเพศ, เพศที่คุกคามผู้ชาย, เพศที่อ่อนแอ และภาพตัวแทนของภรรยา 3. ผู้ชายที่มีคุณลักษณะของบุรุษเพศ (masculine) ถูกนำเสนอด้วยภาพตัวแทนของผู้ที่ชอบใช้ความรุนแรงมากกว่าเหตุผล และผู้ชายที่มีคุณลักษณะของสตรีเพศ(Feminine) ถูกนำเสนอด้วยภาพตัวแทนของผู้หญิงข้ามเพศที่มีนิสัยลามก บ้าผู้ชาย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าหนังสือการ์ตูนตลกไทยเป็นส่วนหนึ่งในการทำให้อคติทางเพศในสังคมรุนแรงขึ้นเช่นเดียวกับสื่ออื่นๆในประเทศไทย-
dc.description.abstractalternativeThis research aims at studying the prevalence and the format of sexism representation in Thai comic books by content analyzing 24 copies of Thai comic books namely Game Saitti Jisen, Kai Huaroh, Talad Talok, Maha Sanook, Yim Siam and Ha-gling Sao Kampong which were on market between September and December, 2009. It examined how male and femal comic characters were portrayed with regard to hostile and benevolent sexism in the storyline, violence, appearances, characteristics, social roles, nudity and character’s status. The results are as follows: 1. Thai comic books contain sexism against both men and women but sexism against women is more prevalent. 2. Women are presented mainly as sexual objects, threats to men, the vulnerable sex and as wives. 3. Masculine men are presented as unreasonably violent and feminine men are presented as perverted transsexual. The results suggest that Thai comic books do promote sexism as other media.-
dc.format.extent13678684 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.242-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการ์ตูนen
dc.subjectเพศในวรรณกรรมen
dc.subjectCaricatures and cartoons-
dc.subjectSex in literature-
dc.titleอคติทางเพศในหนังสือการ์ตูนตลกไทยen
dc.title.alternativeSexism in Thai comic booken
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวารสารสนเทศes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangkamol.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.242-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
marut_wo.pdf13.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.