Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19089
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนัสกร ราชากรกิจ-
dc.contributor.advisorวิบูลย์ ศรีเจริญชัยกุล-
dc.contributor.authorณัฎธารา ตั้งกิตติธารา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-16T12:30:10Z-
dc.date.available2012-04-16T12:30:10Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19089-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractกากตะกอนที่มีโลหะหนักผสมอยู่จัดว่าเป็นของเสียอันตรายที่สามารถ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ถ้าขาดระบบกำจัดของเสียที่มีประสิทธิภาพ ในงานวิจัยนี้เล็งเห็นว่าการกำจัดกากตะกอนโลหะหนักนั้นสามารถนำไปเผารวมกับกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ได้ จึงได้นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนในกระบวนการเผาปูนซีเมนต์ ในการทดลองนี้ได้ใช้เตาเผาปูนซีเมนต์ขนาดย่อส่วนซึ่งเป็นแบบหมุนในการทดลอง และตัวอย่างวัตถุดิบที่ใช้ในการทดลองนั้นทำการเก็บจากวัตถุดิบจริงที่ใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์และจะทำการผสมกากตะกอนโลหะหนักในรูปของออกไซด์ที่เปรียบเทียบมาจากกากตะกอนโลหะหนัก (Cr:Cu:Ni ในอัตราส่วน 1:1:1 และ Cr:Pb:Zn ในอัตราส่วน 1:4:13 ) และกากตะกอนจริงจากโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ กากตะกอนจริงจากโรงงานหลอมเหล็กทำการทดลองที่ปริมาณโลหะหนักต่อปริมาณวัตถุดิบเท่ากับ 0.5 1.0 2.5 และ 5.0 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก ตัวอย่างละ 10 กิโลกรัม จากการทดลองพบว่าการผสมโลหะหนัก Cr:Cu:Ni (1:1:1) ที่ความเข้มข้นไม่เกิน 0.5 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก ไม่มีผลกระทบต่อสมบัติของปูนซีเมนต์แต่อย่างใด และโลหะหนัก Cr:Pb:Zn:Zn (1:4:13) ที่ความเข้มข้นไม่เกิน 2.5 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก ไม่ส่งผลกระทบต่อปฏิริริยาในการผลิตปูนซีเมนต์-
dc.description.abstractalternativeSludge that contained many types of heavy metals from factories, which made the adverse affected to environmental and environment can indicate to hazardous waste. Bringing the sludge for using in the cement process is the one method to reduce concentration of sludge waste and consumed of raw material. However, the heavy metal in the sludge can make the effect to cement properties. This thesis study about the initial suitable concentration of sludge can use cement process without the affect to the cement properties. The heavy metal will ad 0.5, 1.0, 2.5 and 5.0 % by weight and combination of heavy metal include Cr: Cu: Ni (1:1:1), Cr: Pb: Zn (1:4:13) and use real sludge form steel industry and electronic industry was added into each 10 kg of the raw meal and burned in the pilot-scale rotary cement kiln. The result showed combination ratio of Cr: Cu: Ni (1:1:1) not make the effect to cement properties if concentration of heavy metal lower than 0.5 % by weight and Cr: Pb: Zn (1:4:13) not make the effect to cement properties if concentration of heavy metal lower than 2.5 % by weight-
dc.format.extent12034848 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2089-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปูนซีเมนต์en
dc.subjectของเสียอันตรายen
dc.titleโครงสร้างและคุณภาพของปูนซีเมนต์ที่ใช้ของเสียอันตรายผสมรวมในกระบวนการผลิตโดยใช้เตาเผาปูนซีเมนต์ขนาดย่อส่วนen
dc.title.alternativeStructure and quality of cement from co-processing of hazardous waste in a pilot-scale potary cement kilnen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisormanaskorn.r@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorviboon.sr@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.2089-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
natthara_ta.pdf11.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.