Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19115
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีวงศ์ สุมิตร | - |
dc.contributor.author | สุเทพ บูรณะคุณาภรณ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2012-04-17T05:16:33Z | - |
dc.date.available | 2012-04-17T05:16:33Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745623784 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19115 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง “การวิเคราะห์ความต้องการนำเข้าเครื่องจักรกลในประเทศไทย” ในที่นี้ มีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ ต้องการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการนำเข้าเครื่องจักรกลกับปัจจัยทางเศษรฐกิจต่างๆ ที่คาดว่าจะมีผลกระทบต่อแบบแผนการนำเข้าสำค้าประเภทนี้ ซึ่งการประมาณความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหล่านี้ จะใช้วิธีการทางเศรษฐมิติ ในการกำหนดแบบจำลองสำหรับศึกษาหาความสัมพันธ์ดังกล่าว จะมีลักษณะเป็นแบบจำลองพลวัต แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการนำเข้าเครื่องจักรกล( M_t ) ซึ่งเป็นตัวแปรตามกับตัวแปรอธิบาย ได้แก่ผลผลิตในปีปัจจุบัน ( Y_t ) ผลผลิตในปีที่ผ่านมา ( Y_(t-1 ) ) ค่าใช้จ่ายของการใช้ทุนที่แท้จริงในปีปัจจุบัน ( (C/〖P)〗_t ) ค่าใช้จ่ายของการใช้ทุนที่แท้จริงในปีที่ผ่านมา ( (C/〖P)〗_(t-1) ) และการนำเข่าเครื่องจักรกลในปีที่ผ่านมา ( M_(t-1) ) ความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้อยู่ในรูปสมการเชิงเส้น สำหรับขอบเขตของการศึกษา จะครอบคลุมเฉพาะเครื่องจักรกลไม่ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น โดยจำแนกเครื่องจักรกลไม่ใช้ไฟฟ้าออกเป็นประเภทต่างๆตามลักษณะการใช้งาน 10 ประเภท ลักษณะข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณอนุกรมเวลารายปี ระหว่าง 2511 – 2524 โดยที่ M_t จะใช้ข้อมูลค่าการนำเข้าเครื่องจักรกลปรับด้วยดัชนีราคาการนำเครื่องจักรกลแต่ละประเภท Y_t จะใช้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ภายในประเทศของสาขาเศรษฐกิจต่างๆ ที่นำเครื่องจักรกลแต่ละประเภทไปใช้ C_t จะใช้ข้อมูลดัชนีราคานำเข้าเครื่องจักรกลปรับด้วยอัตราภาษีศุลกากรโดยเฉลี่ยแต่ละประเภท และ P_t จะใช้ข้อมูลดัชนีราคา (ขายส่ง) ผลิตภัณฑ์ของสาขาเศรษฐกิจต่างๆ ที่นำเครื่องจักรกลแต่ละประเภทไปใช้ สำหรับวิธีการประมาณค่าจะใช้วิธีการของ Marc Nerlove ที่เรียกว่า “ Iterative Estimation” ผลการวิเคราะห์ทางสถิติได้ผล ดังนี้ 1. การไหวตัวของสต๊อดที่ต้องการต่อการเปลี่ยนแปลงระดับผลผลิตและค่าใช้จ่ายของการใช้ทุนที่แท้จริง มีความแตกต่างกันมากในแต่ละประเภทของเครื่องจักรกล กล่าวคือ เครื่องจักรกลที่ใช้ในการเกษตรกรรมและที่เกี่ยวข้อง เครื่องจักรกลที่ใช้อุตสาหกรรมกระดาษและการพิมพ์ และเครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารมีการไหวตัวอต่อการเปลี่ยนแปลงระดับผลผลิตค่อนข้างสูง ขณะที่จักรกลอื่นๆเครื่องจักรกลที่ใช้อุตสาหกรรมกระดาษและการพิมพ์ เครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องจักรกลที่ให้กำเนิดกำลัง มีการไหวตัวต่อการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายของการใช้ทุน อยู่ในระดับสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเภทอื่นๆ 2. อัตราการปรับตัวของสต๊อค ซึ่งเป็นตัววัดความสามารถของผู้ผลิตในการปรับสต๊อคที่เกิดขึ้นจริง เพื่อสู่ระดับสต๊อคที่ต้องการของเครื่องจักรกลแต่ละประเภท มีอัตราแตกต่างกัน ในระหว่าง 2.7 – 46 % โดยที่อัตราการปรับตัวของสต๊อคในกรณีเครื่องจักรกลที่ให้กำเนิด เครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษและการพิมพ์และเครื่องจักรกลที่ใช้ในการก่อสร้างและเหมืองแร่ มัอัตราสูงถึงประมาณ 34 – 46 % ซี่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเภทอื่นๆ มีอัตราเพียงไม่ถึง 20 % 3. ในระยะสั้น ความต้องการนำเข้าเครื่องจักรกลประเทศไทยมีความยืดหยุ่นต่อราคาน้อย ( ตัวอย่างเช่น เครื่องจักกลอื่นๆ ( 0.495 – 0.559 ) และเครื่องจักรกลที่ให้กำเนิดกำลัง ( 0.495 – 0.559 ) จะมีความยืดหยุ่นน้อยมาก ) ในทางตรงข้าม มีความยืดหยุ่นต่อผลผลิตมาก (ตัวอย่างเช่น เครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ( 3.46 – 3.93 ) เครื่องจักรกลที่ใช้ในการเกษตรกรรมและที่เกี่ยวข้อง ( 2.53 – 3.16 ) และเครื่องจักรกลที่ให้กำเนิดกำลัง ( 2.53 – 2.66 ) จะมีความยืดหยุ่นสูงมาก ) | - |
dc.description.abstractalternative | The study An analysis of Demand for Import of Machinery in Thailand aims at investigating the relationship demand for machinery import and various economic factors which are expected to influence the pattern of such demand for import using the econometric method. A dynamic model is constructed to represent the relationship in which dependent variable is machinery imports ( M_t ) and dependent variables are output in the present year ( Y_t ) output in the previous year ( Y_(t-1) ) real user cost of capital in the present year ((C /〖P)〗_t ) real user cost of capital in the present year ((C /〖P)〗_(t-1) ) and machinery imports in r=the previous year ( M_(t-1) ). The relation equations are in linear from. The study will cover only non-electrical machinery which is classified into 10 categories by nature of work. The data used for the estimation is time -series during B.E. 2511 – 2524 provided that M_t is value of machinery imports adjusted by import price index of each machinery category Y_t is represented by combined by combined value added of the machinery - using sectors C_t is represented simply by import price index adjusted by average tariff rate applicable to the various imported machinery categories and P_t is an index of domestic wholesale price of the products of each machinery – using sectors. The method of estimation is Marc Nerlove’s method or so – called Iterative Estimation. The statistical results are as follows 1. The sensitivity of desired stick to output and to real user cost of capital are very different in each imported machinery category. That is the sensitivity of desired stock to output of agricultural machinery and implements of paper mill and printing machinery and of food machinery are quite high while the sensitivity of desired stock to real user cost of machinery n.e.s. of paper mill and printing machinery of food machinery and of power-generating machinery are comparatively high 2. Rate of stock adjustment which is a measure of the producer’s capacity of actual stock adjustment in each imported machinery category is different in the rank of 2.7 – 46 percent. Such rates of power-generating machinery paper mill and printing machinery and construction and mining machinery are as high as 35-46 percent compared with not more than 20 percent of the others. 3. In short-run the import demand for machinery in Thailand is apparently price inelastic ( ex. Machinery n.e.s. (0.454-0.567) and power-generating machinery (0.495-0.599) are the most inelastic ). On the other hand greater than unitary output elasticity appears to characterize several machinery categories ( ex. Food machinery (3.46-3.93) agricultural and implements (2.53-3.16) and power-generating machinery (2.43-2.66) are the most elastic) | - |
dc.format.extent | 524101 bytes | - |
dc.format.extent | 480922 bytes | - |
dc.format.extent | 1229793 bytes | - |
dc.format.extent | 1098625 bytes | - |
dc.format.extent | 761204 bytes | - |
dc.format.extent | 469716 bytes | - |
dc.format.extent | 1195360 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สินค้าเข้าและสินค้าออก | en |
dc.subject | เครื่องจักรกล -- แง่เศรษฐกิจ | en |
dc.title | การวิเคราะห์ความต้องการนำเข้าเครื่องจักรกลในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | An analysis of demand for import of machinery in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suthep_Bu_front.pdf | 511.82 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_ch1.pdf | 469.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_ch2.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_ch3.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_ch4.pdf | 743.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_ch5.pdf | 458.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suthep_Bu_back.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.