Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสถียร เชยประทับ-
dc.contributor.authorสุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-04-17T08:34:06Z-
dc.date.available2012-04-17T08:34:06Z-
dc.date.issued2524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19131-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractโภชนศึกษาเป็นแนวทางสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโภชนาการ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญต่อสุขภาพและอนามัยของทุกคน แต่เป็นที่น่าเสียดายที่โภชนศึกษาเท่าที่ผ่านมาในประเทศไทยยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร การวิจัยครั้งนี้จึงมุ่งที่จะศึกษาหารูปแบบของการให้โภชนศึกษาที่มีประสิทธิภาพแก่มารดาในเขตชนบท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการนำบทบาทของเครื่องบันทึกเสียงมาใช้ ผู้วิจัยทำการวัดความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมทางโภชนาการก่อนและหลังการให้โภชนศึกษา พบว่าบทบาทของเครื่องบันทึกเสียงจัดเป็นรูปแบบหนึ่งของการให้โภชนศึกษาที่มีประสิทธิภาพสำหรับมารดาในชนบท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสามารถเปลี่ยนแปลงความรู้และทัศนคติด้านโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนั้นยังพบว่าการนำเครื่องบันทึกเสียงไปใช้นั้น ในหมู่บ้านที่มีครัวชุมชน มีการเปลี่ยนแปลงความรู้ดีกว่าหมู่บ้านที่ไม่มีครัวชุมชน ในหมู่บ้านที่สมาชิกมีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมของหมู่บ้านและหมู่บ้านที่มีสมาชิกไม่มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมของหมู่บ้าน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกัน ในหมู่บ้านที่ผู้วิจัยดำเนินการใช้สื่อกับหมู่บ้านที่ชาวบ้านดำเนินการใช้สื่อ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกัน วิธีการจัดกลุ่มและเยี่ยมบ้านให้ผลไม่แตกต่างกัน หลังจากให้ข่าวสารไปแล้วมีการถ่ายทอดข่าวสารต่อกันทั้งระหว่างกลุ่ม ภายในกลุ่มและภายนอกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนบ้าน และสำหรับมารดาที่ได้รับโภชนศึกษา ซึ่งนำเรื่องที่ได้รับฟังไปพูดคุยปรึกษากัน มีการเปลี่ยนแปลงความรู้และทัศนคติด้านโภชนาการดีกว่ามารดาที่ไม่ได้นำเรื่องที่ได้รับฟังไปพูดคุยปรึกษากัน แต่สำหรับพฤติกรรมด้านโภชนาการนั้น ในระยะเวลา ๖ สัปดาห์ บทบาทของเครื่องบันทึกเสียงไม่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้-
dc.description.abstractalternativeNutrition education is an important medium in preventing nutrition problems and promoting public health. Unfortunately, nutrition education carried out thus far in Thailand has not been successful. The objective of this study is to find a model of effective nutrition education for rural mothers in the northeast of Thailand. The cassette-tape technique is used. Pre and post-tests are given before and after the tape presentation on knowledge, attitude and nutrition practice (KAP). The results of the study showed that the cassette-tape technique is an effective model for educating the rural mothers. Significant changes in knowledge and attitude were observed in the mothers. Greater improvement in knowledge was observed in the village where there was a community kitchen. There was no significant difference of KAP from the degree of active participation, the community village which had no instructions other than receiving the cassette-tape appeared to have similar scores as the fully instructed community. There was also no significant difference when we tested on two groups of mother: the listening group and the home visiting group. Interpersonal communication happened among the mothers and they also sent the messages to their families and neighbours. Mother who had discussed about the messages in the tape with others had higher knowledge and attitude scores than those who had no interpersonal communication. The cassette-tape technique, however, is not effective in changing nutrition behavior within 6-week period-
dc.format.extent436356 bytes-
dc.format.extent1815015 bytes-
dc.format.extent584851 bytes-
dc.format.extent286427 bytes-
dc.format.extent557568 bytes-
dc.format.extent310789 bytes-
dc.format.extent1256547 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องบันทึกเสียงen
dc.subjectการสอนด้วยสื่อen
dc.subjectข่าวสารen
dc.titleบทบาทของเครื่องบันทึกเสียงในการให้โภชนศึกษาแก่มารดาในเขตชนบท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือen
dc.title.alternativeA cassette-tape technique as an approach of nutrition education for rural mothers in the northeast of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsatien.c@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suttilak_Sm_front.pdf488.7 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_ch1.pdf572.09 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_ch2.pdf499.51 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_ch3.pdf468.38 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_ch4.pdf925.16 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_ch5.pdf361.51 kBAdobe PDFView/Open
Suttilak_Sm_back.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.