Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19227
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ องค์ครุฑรักษา-
dc.contributor.authorสุมาลี อำนวยพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-25T09:07:56Z-
dc.date.available2012-04-25T09:07:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19227-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ข้ามชาติของสตาร์บัคส์ และกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ข้ามชาติของสตาร์บัคส์ในประเทศต่างๆ จำนวน 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และสหรัฐอเมริกา ตลอดจนศึกษาลักษณะทางประชากร วิถีชีวิต และทัศนคติของผู้รับสารของสตาร์บัคส์ในประเทศต่าง ๆ ดังกล่าว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพในรูปของการวิจัยเอกสาร เพื่อศึกษากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ข้ามชาติของสตาร์บัคส์ และการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจและใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล เพื่อศึกษาลักษณะทางประชากร วิถีชีวิต และทัศนคติของผู้รับสารที่มีต่อสตาร์บัคส์ โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพศชายและเพศหญิงในประเทศทั้ง 5 ประเทศ ที่มีอายุระหว่าง20 – 45 ปี จำนวนทั้งสิ้น 450 คน จากผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ข้ามชาติที่สตาร์บัคส์ใช้ เป็นกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์แบบผสมผาน คือ มีการใช้ทั้งการประชาสัมพันธ์แบบมาตรฐานเดียวกัน และการประชาสัมพันธ์แบบท้องถิ่น โดยความเป็นมาตรฐานเดียวกันที่สตาร์บัคส์เน้น คือ ประสบการณ์สตาร์บัคส์ คุณภาพของกาแฟ และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ส่วนการประชาสัมพันธ์แบบท้องถิ่น เน้นการตกแต่งร้านที่แทรกกลิ่นอายท้องถิ่น การส่งเสริมการขายและผลิตภัณฑ์ต่างๆที่มีเฉพาะท้องถิ่น และการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในท้องถิ่นหรือชุมชน จากผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างในประเทศทั้ง 5 ประเทศ มีวิถีชีวิตที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. กลุ่มตัวอย่างในประเทศทั้ง 5 ประเทศ มีทัศนคติต่อสตาร์บัคส์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study multinational public relations strategies of Starbucks applied to audiences in five countries including Thailand, China, Japan, South Korea, and the United States. In addition, this research aimed to study demographics, lifestyles, and attitudes towards Starbucks among those audiences. Documentary research was used to study multinational public relations strategies of Starbucks, while the survey was conducted to collect data of demographics, lifestyles, and attitudes from 450 samples aged between 20 to 45 years in those five countries. The findings indicated that: 1. The combination between standardization and localization were applied as multinational public relations strategies of Starbucks. Starbucks Experience, Quality of Coffee, and Corporate Social Responsibility were standardized among Starbucks in different countries. Meanwhile, Starbucks applied store decoration, promotions and products, and corporate social responsibility as tools to be localized. 2. The lifestyles of audiences in the five countries were significantly different. 3. The attitudes of audiences in the five countries towards Starbucks were significant different.en
dc.format.extent3323581 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.43-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารทางการตลาดen
dc.subjectสตาร์บัคส์en
dc.subjectร้านกาแฟ -- การประชาสัมพันธ์en
dc.titleกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ข้ามชาติของสตาร์บัคส์ และทัศนคติ วิถีชีวิตของผู้รับสาร 5 ประเทศen
dc.title.alternativeMulti-national public relations strategies of Starbucks and attitudes, lifestyles of audiences in 5 countriesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorworawan.o@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.43-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sumalee_am.pdf3.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.