Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชนะ นิ่มนวล-
dc.contributor.authorปรินณา ขันทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-28T16:29:24Z-
dc.date.available2012-04-28T16:29:24Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19280-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาสุขภาพจิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในพลทหารใหม่ ได้ทำการศึกษาจากพลทหารใหม่กองประจำการในสังกัดกองร้อยพลเสนารักษ์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าปี 2552 ทั้งหมดจำนวน 220 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับการเป็นทหารกองประจำการ และแบบทดสอบสุขภาพจิตGHQ-30 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ สถิติเชิงพรรณนา บรรยายลักษณะทั่วไป สถิติไคสแควร์ หาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตและสถิติถดถอยพหุแบบ Multiple Logistic Regression Analysis หาปัจจัยที่ทำนายสุขภาพจิต ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาสุขภาพจิตของพลทหารใหม่กองประจำการในสังกัดกองร้อยพลเสนารักษ์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ปี 2552 มีภาวะปัญหาสุขภาพจิต 26.4% ไม่พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลเกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญ แต่พบว่าปัจจัยหลังเข้ารับการเกณฑ์ทหารที่มีความสัมพันธ์กับปัญหาสุขภาพจิต ได้แก่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนทหารเกณฑ์ในหน่วยงาน ([X superscript 2]=6.557 , p=.01) จำนวนเพื่อนทหารเกณฑ์ที่ปรึกษาได้เมื่อมีปัญหา ([X superscript 2] =12.958 , p<.001) ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน ([X superscript 2]=4.153 , p=.04) และได้รับการเปิดโอกาสทำหน้าที่ตามความสามารถ([X superscript 2]=6.903 , p=.009) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อวิเคราะห์ร่วมกันหลายตัวแปรพบว่าจำนวนเพื่อนทหารเกณฑ์ที่ปรึกษาได้เมื่อมีปัญหาและการได้รับโอกาสให้ทำหน้าที่ตามความสามารถ ช่วยลดโอกาสการเกิดปัญหาสุขภาพจิตได้ ประมาณ 50 %en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this descriptive study is to determine mental health problem and associated factors of new Thai army recruits in Phramongkutklao hospital in 2009. All 220 new recruits participated in the study. The research instruments were the demographic data questionnaire, questionnaire about army recruits and General Health Questionnaire-30. The data were analyzed using descriptive statistics, chi-square statistics and multiple logistic regression analysis. The results showed that 26.4% of new thai army recruits had mental health problem. No association between mental health problem and demographic was evident data but factor related to working in the army were such as relationship with friends ([X superscript 2]=6.557,p=.01), relationship with immediate superiors ([X superscript 2]=4.153,p=.04), number of friends who gave support ([X superscript 2] =12.958,p<.001) and opportunity for work ([X superscript 2]=6.903,p=.009) . The results after multivariate analysis showed that number of friends who gave support and opportunity for work decreased the likelihood of healthy mental problem approximately 50%en
dc.format.extent1582082 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.434-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุขภาพจิตen
dc.subjectทหาร -- สุขภาพจิตen
dc.titleปัญหาสุขภาพจิตของพลทหารใหม่กองประจำการในสังกัดกองร้อยพลเสนารักษ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าen
dc.title.alternativeMental health problems of new Thai army recruits in Phramongkutklao Army Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaichana.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.434-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parinna_Kh.pdf1.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.