Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19441
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธวัชชัย จิตรภาษ์นันท์ | - |
dc.contributor.author | วีรภัทร์ ศรีทองสม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-04T14:27:42Z | - |
dc.date.available | 2012-05-04T14:27:42Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19441 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | วิศึกษาการเชื่อมโยงระหว่างตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กับตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศในช่วงก่อนและช่วงวิกฤตซับไพรม์ โดยศึกษาผ่านทางดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ ในรูปอัตราผลตอบแทนของประเทศ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง สิงคโปร์ และไทย ใช้ข้อมูลรายวันในการศึกษาโดยในช่วงก่อนวิกฤตซับไพรม์ ตั้งแต่ มกราคม 2000 ถึง พฤศจิกายน 2006 และช่วงวิกฤตซับไพรม์ ตั้งแต่ มีนาคม 2007 ถึง ธันวาคม 2009 ผลการศึกษาพบว่า ในช่วงก่อนวิกฤตซับไพรม์ตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน และสิงคโปร์ มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในขณะที่ช่วงวิกฤตซับไพรม์ตลาดหลักทรัพย์ของประเทศ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ และฮ่องกง มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยพบว่าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีการตอบสนองต่อตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์มากที่สุด รองลงมาคือฮ่องกง และตอบสนองต่อตลาดหลักทรัพย์จีนน้อยที่สุด ทั้งในช่วงก่อนและช่วงวิกฤตซับไพรม์ และจากผลการทดสอบการเชื่อมโยงความผันผวนของตลาดหลักทรัพย์ โดยใช้แบบจำลอง DCC MGARCH พบว่าในช่วงก่อนวิกฤตซับไพรม์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีการเชื่อมโยงความผันผวนกับตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์มากที่สุด รองลงมาคือ ตลาดหลักทรัพย์ ฮ่องกง ญี่ปุ่น อังกฤษ อเมริกา และจีน ตามลำดับ ส่วนในช่วงวิกฤตซับไพรม์มีการเชื่อมโยงความผันผวนกับตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์มากที่สุดเช่นเดียวกัน รองลงมาคือตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง ญี่ปุ่น อังกฤษ จีนและอเมริกา ตามลำดับ จากผลการศึกษายืนยันได้ว่าในช่วงวิกฤตซับไพรม์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีการเชื่อมโยงกับตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศมากขึ้น โดยมีการเชื่อมโยงกับสิงคโปร์มากที่สุด รองลงมาคือ ตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกง ในขณะที่การเชื่อมโยงกับตลาดหลักทรัพย์อเมริกาและจีนมีค่อนข้างตํ่า แต่พบว่าการเชื่อมโยงกับตลาดหลักทรัพย์จีนมีแนวโน้มสูงขึ้นมาก (221%) ดังนั้นนักลงทุนควรให้ความสำคัญและติดตามความเคลื่อนไหวของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ ฮ่องกง รวมทั้งจีนเพิ่มมากขึ้น | en |
dc.description.abstractalternative | To investigate the linkage between Stock Exchange of Thailand (SET) and those from US, UK, Japan, China, Hong Kong and Singapore before and during Subprime crisis. The paper uses daily index data from aforementioned markets before (January 2000 to November 2006) and during subprime crisis (March 2007 to December 2009). The study finds that market movement in US, UK, Japan, China and Singapore induced the movement of SET index before Subprime crisis period. However, those of USA, UK, Singapore, Japan and Hong Kong still maintained their influence on the SET index during Subprime crisis. An impulse response function test reveals that SET responses the most to market fluctuation of Singapore and the least to those of China in both periods. Finally, DCC/MGARCH technique is employed to capture the dynamic nature of the relationship between the Thai and those foreign markets. Empirical results show that during period before Subprime crisis, SET index had the strongest correlation with the market indices of Singapore followed by those of Hong Kong, Japan, UK, US and China, respectively. However, during Subprime crisis period, the correlation ordering changes somewhat to Singapore, Hong Kong, Japan, England, China and USA, respectively. The result clearly exposes the growing influence of the Chinese market on the SET index. All in all, the study concludes that during Subprime crisis, the linkage between SET and foreign stock exchange becomes more intensified. The (dynamic) correlations between the Thai and those foreign markets increase across the board though the level of improvement varies from market to market. The largest increment in average correlation is between the SET index and that of China (221%) followed by that of Singapore (41%), Hong Kong (38%), US (35%), Nikkei (30%), UK (25%). The stronger linkage between SET and the Chinese market (albeit still rather weak at the level) reflect the rise of China economic power and investors would be wise to pay more attention to the fact. | en |
dc.format.extent | 2428773 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1752 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์ | en |
dc.subject | วิกฤตการณ์การเงิน | - |
dc.subject | ดัชนีราคาหลักทรัพย์ | - |
dc.subject | Stock Exchange of Thailand | - |
dc.subject | Stock exchanges | - |
dc.subject | Global Financial Crisis, 2008-2009 | - |
dc.subject | Stock price indexes | - |
dc.title | การเชื่อมโยงของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกับตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศ ในช่วงก่อนและระหว่างวิกฤตซับไพรม์ | en |
dc.title.alternative | The linkage between Thai market and international market, before and during subprime crisis | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Thawatchai.J@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1752 | - |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
weerapat_sr.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.