Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.authorเพ็ญพร ฉายะวาณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-05-08T09:51:11Z-
dc.date.available2012-05-08T09:51:11Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19512-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractศึกษาความเป็นไปได้ในการสังเคราะห์ซีโอไลต์จากเถ้าลอยถ่านหินและจากเถ้าลอยชานอ้อยด้วยสารละลายด่าง ที่ผ่านการใช้แล้วจากโรงงานอุตสาหกรรมรมดำโลหะ (Spent alkaline) โดยศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ซีโอไลต์จากเถ้าลอยถ่านหินและจากเถ้าลอยชานอ้อย ได้แก่ อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา 80 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นของสารละลาย Spent alkaline 3.0 โมลาร์และ 2.5 โมลาร์ตามลำดับ และระยะเวลาในการทำปฏิกิริยา 4 วัน ซึ่งจะให้ค่าความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคลเซียมไอออนเท่ากับ 473.74 cmol/kg และ286.68 cmol/kg การศึกษาครั้งนี้นำซีโอไลต์สังเคราะห์ไปทดสอบความสามารถในการกำจัดโครเมียมแบบไม่ต่อเนื่อง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกำจัดโครเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์ ได้แก่ พีเอช ความเข้มข้นของโลหะหนัก และปริมาณซีโอไลต์ เพื่อทดสอบไอโซเทอมการดูดติดผิวโครเมียมพบว่า ที่พีเอช 2 และความเข้มข้นโครเมียม 10 มิลลิกรัมต่อลิตร มีประสิทธิภาพในการกำจัดโครเมียมดีที่สุด ซึ่งผลการทดลองไอโซเทอมการดูดติดผิวโครเมียมที่สภาวะดังกล่าว เป็นสมการดูดติดผิวแบบแลงมัวร์ และพบว่าซีโอไลต์ที่สังเคราะห์จากเถ้าลอยถ่านหินและเถ้าลอยชานอ้อยที่กระตุ้นด้วยสารลาย Spent alkaline มีค่าความสามารถในการดูดติดผิวโครเมียมสูงสุดเท่ากับ 86.17 และ 68.99 มิลลิกรัมต่อกรัม ซีโอไลต์ ตามลำดับ และจากการฟื้นฟูสภาพซีโอไลต์ที่ใช้แล้วและนำกลับมาใช้ใหม่ในการกำจัดโครเมียม พบว่าการฟื้นฟูสภาพซีโอไลต์ทั้งสองชนิดที่ใช้แล้ว ด้วยสารละลายไฮโดรคลอริคเข้มข้น 1 เปอร์เซนต์ โดยใช้เวลาในการสัมผัส 1 ชั่วโมงและ 3 ชั่วโมงให้ร้อยละการกำจัดโครเมียมในน้ำเสียสังเคราะห์ คือ 95.44 และ 93.55 ตามลำดับ ซีโอไลต์ที่สังเคราะห์จากเถ้าลอยถ่านหินและจากเถ้าลอยชานอ้อยที่กระตุ้นด้วยสารลาย Spent alkaline มีความสามารถในการกำจัดโครเมียมในน้ำเสียจริงได้เท่ากับ 97.09% และ 95.42% ตามลำดับ และในการทดลองแบบต่อเนื่อง (Column test) ในซีโอไลต์ที่สังเคราะห์จากเถ้าลอยถ่านหินและจากเถ้าลอยชานอ้อย เก็บตัวอย่างที่ระดับความลึก 30 60 90 และ120 เซนติเมตร พบว่ากำจัดโครเมียมได้ 18.34 11.17 8.78 8.58 BV และ16.34 10.17 8.12 7.58 BV ตามลำดับ ที่จุด breakthroughen
dc.description.abstractalternativeTo study the potential applicability in zeolite syntheses using coal fly ash and bagasse fly ash activated by Spent alkaline from black oxide coating industry. This study designedly ascertained the optimum condition of zeolite syntheses comparatively from coal fly ash and bagasse fly ash. The result revealed that the optimum condition exhibiting the highest CEC for synthesized zeolite using coal fly ash and bagasse fly ash were 473.74 and 286.68 cmol/kg, characterized by reaction temperature of 80 C, activation by spent alkaline solution concentrated of 3.0 molars and reaction time of 4 days. Removal efficiency of chromium by using synthesized zeolites at optimum condition was evaluated with batch test. The batch experiment was utilized to study the influential factors on removal of chromium from synthetic wastewater which are namely pH favorableness, concentration of the heavy metal, contact time and adsorption isotherm. The outcomes were that the best adsorption efficiency of chromium was at pH 2 and concentration of 10 mg/l of chromium. From Langmuir adsorption isotherm of synthetic wastewater, it was found that the chromium adsorption capacities of zeolites synthesized from coal fly ash and bagasse fly ash activation by spent alkaline were 86.17 and 68.99 mg/g of zeolite respectively. For the study of spent zeolite regeneration reused for removal of chromium, the results showed that maximum chromium removal from synthetic wastewater for spent zeolites put in hydrochloric 1% and contract time at 1 and 3 hour was 95.44% and 93.55% respectively. The removal capacities of chroumim in real wastewater from chromium using zeolites synthesized from coal fly ash and bagasse fly ash activation by spent alkaline were 97.09% and 95.42% respectively. For column tests, wastewaters were collected at depth of synthesized zeolites 30 60 90 and 120 cm. The results showed that chroumim removal capacities of zeolites synthesized from coal fly ash and bagasse fly ash was 18.34 11.17 8.78 8.58 BV and 16.34 10.17 8.12 7.58 BV respectively at breakthrough pointen
dc.format.extent4479380 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.72-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดโครเมียมen
dc.subjectซีโอไลต์en
dc.subjectขี้เถ้าลอยen
dc.titleการกำจัดโครเมียมในน้ำเสียโดยใช้ซีโอไลต์ที่สังเคราะห์จากเถ้าลอยชานอ้อยและเถ้าลอยถ่านหินen
dc.title.alternativeChromium removal from wastewater using zeolite synthesized from bagasse fly ash and coal fly ashen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThares.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.72-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penporn_ch.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.