Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19718
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระเทพ ปทุมเจริญวัฒนา-
dc.contributor.authorสุรางคนา เตื้อติสอน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-20T01:53:15Z-
dc.date.available2012-05-20T01:53:15Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19718-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามหลักวิธีคิดแบบวิภัชชวาท เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นครูจากศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดที่เป็นกลุ่มเลือกโดยการเจาะจงจำนวน 68 คน ผู้วิจัยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ด้วยวิธีการจับคู่เหมือนทำเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 34 คน คือกลุ่มทดลองที่ได้รับการพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักวิธีคิดแบบวิภัชชวาท ที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้น โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับการฝึก 8 ครั้ง ครั้งละ 3 ชั่วโมง เป็นการวิจัยที่มีกลุ่มควบคุมแบบกึ่งทดลอง และมีการทดสอบก่อนและหลัง (Pretest - Posttest Control Group Design) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทั้งสองกลุ่ม แบ่งเป็น 2 ระยะ โดยใช้การสอบการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ได้แก่ การทดสอบก่อนการทดลองและหลังการทดลอง แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบทั้ง 2 ระยะมาวิเคราะห์ความแตกต่าง ด้วยการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของคะแนนในการทำแบบวัดความสามารถทางการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนทำการทดลองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม(t-test Independent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ก่อนการทดลอง ผู้เรียนกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรม มีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณไม่แตกต่างกับผู้เรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้แผนการสอนตามปกติ 2. หลังการทดลอง ผู้เรียนกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรม มีคะแนนเฉลี่ยของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ใช้การสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop critical thinking of preschool teachers in temple by non-formal education activities based on Vipatchawat Thinking. The subjects comprised of 68 preschool teachers in temple and in each group were devided into two groups ; 34 students in each group. The experimental group were trained to think critically by non-formal education activities based on Vipatchawat Thinking while the controlled group were trained by Conventional Teaching. Each group was trained for 8 times, 3 hours for each.This was Quasi Experimental research. The data were collected from both groups for twice : before and after the training periods and at the end of the follow up period by using Critical Thinking Test. The results were as follows : 1. There was no significant difference between the pre-test scores and post-test scores for two groups. 2. The students in the experimental group obtained higher post-test scores than pretest scores at .05 significance level.en
dc.format.extent1517559 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.622-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการศึกษานอกโรงเรียนen
dc.subjectความคิดและการคิด -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectครู -- การฝึกอบรมen
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามหลักวิธีคิดแบบวิภัชชวาทเพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับครูจากศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดen
dc.title.alternativeEffects of organizing non-formal activities based on Vipatchawat thinking to delvelop criticle thinking for preschool teachers in templeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษานอกระบบโรงเรียนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwirathep.p@chula.ac.th, wirathep@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.622-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
surangkana_t.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.